Page 55 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 55
การวิเคราะหข์ อ้ มูลการวิจัยการส่ือสารชุมชน 7-45
การพสิ จู นบ์ ทสรปุ คอื การยนื ยนั ความถกู ตอ้ งของขอ้ สรปุ (สภุ างค์ จนั ทวานชิ , 2546) อาจทำ� ได้
โดยการตรวจสอบความเปน็ ตวั แทนของขอ้ มลู (representativeness) ตรวจสอบผลขา้ งเคยี งทอ่ี าจเกดิ จาก
ตวั นกั วจิ ยั ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ประเมนิ คุณภาพของข้อมูลทไี่ ด้ เปรียบเทยี บความแตกต่างของ
ข้อมลู ลองทำ� วิจยั ซํ้าอกี แห่งหนงึ่ และหาค�ำอธบิ ายอ่นื มาใช้
การวจิ ยั การสอื่ สารชมุ ชนมแี นวคดิ หลกั การ และเทคนคิ ทแ่ี ตกตา่ งจากการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทวั่ ไป
บางประการ ในช่วงที่สอง จะเลือกนำ� ข้อทแ่ี ตกต่างมาเน้นยํ้าพรอ้ มสาธติ ตัวอย่างการวเิ คราะห์
ช่วงที่สอง
ข้ันตอนการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการส่ือสารชุมชนอิงการวิจัยเชิงคุณภาพ
เนอื่ งจากการวจิ ยั การสอื่ สารชมุ ชน สว่ นใหญจ่ ะใชว้ ธิ วี ทิ ยาการศกึ ษาวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ในหวั เรอื่ งนี้
จึงจะล้อตามช่วงที่หน่ึง ที่ได้กล่าวถึงขั้นตอนพื้นฐานท่ัวไปของการวิจัยเชิงคุณภาพไว้แล้ว โดยเน้ือหาใน
เรื่องน้ี จะยกตวั อยา่ งจากงานวิจัยการสื่อสารชุมชนเปน็ หลัก
ดงั ทอ่ี ธิบายถึงวิธีการวิเคราะหข์ อ้ มลู เชิงคุณภาพไวแ้ ลว้ ซ่งึ ประกอบดว้ ย 4 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่
1. การจดั การข้อมูลและการตรวจสอบเบ้ืองตน้
2. การทำ� ดชั นขี อ้ มูลและการก�ำจัดข้อมูล
3. การสรา้ งข้อสรุปช่วั คราว
4. การสรา้ งขอ้ สรปุ และพสิ จู นบ์ ทสรุป
เม่อื น�ำทงั้ ส่ีข้นั ตอนมาปรบั ใชก้ บั การวิจยั เพื่อการสอ่ื สารชุมชน จะสามารถด�ำเนนิ การไดด้ งั น้ี
ขั้นตอนที่ 1 การจัดการข้อมูลและการตรวจสอบเบื้องต้น
ข้ันตอนนเี้ ปน็ การตรวจสอบขอ้ มูลเบ้อื งต้น กอ่ นการวิเคราะหข์ ้อมลู สว่ นการตรวจสอบขอ้ มูลครงั้
สดุ ทา้ ย เรียกว่า “การพสิ จู น์ข้อสรุป”
การตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองต้น มีสองประเภท คือ 1) ตรวจสอบความเช่ือถือได้ของข้อมูล และ
2) ตรวจสอบความครบถว้ น และคุณภาพของข้อมลู (สภุ างค์ จนั ทวานิช, 2546)
ข้อดีประการหนึ่ง ของการท�ำวิจัยอย่างมีส่วนร่วมกับ “คนใน” คือ เม่ือถึงตอนวิเคราะห์
ข้อมูล คนในจะท�ำหน้าท่ีเสมือน “ตัวกรอง” หรือผู้ตรวจสอบส�ำคัญ เม่ือเขาได้เห็นข้อมูล ท้ังน้ีนักวิจัย
คนนอกต้องแน่ใจว่า มีความรู้จักคุ้นเคยกับนักวิจัยคนในพอสมควรแล้ว ไม่เกิดความเกรงใจ หรืออีกด้าน
หนึ่ง มารว่ มท�ำวิจัยเพราะถกู บงั คับ จนทำ� ใหก้ ารตรวจสอบไมป่ ระสบความสำ� เรจ็
ในการวิจัยการส่ือสารชุมชน การตรวจสอบความเชอ่ื ถือได้ของข้อมูล สามารถทำ� ได้โดยยึด
หลกั การพน้ื ฐานดงั ทไ่ี ดต้ กลงไวแ้ ตต่ น้ ประการแรกคอื การวเิ คราะหต์ อ้ งอยบู่ นพนื้ ฐานของการศกึ ษาบรบิ ท
ชุมชนอยา่ งละเอียดถ่องแท้ หลักการน้เี ป็นการชว่ ยให้ การวิเคราะหป์ ระเด็นต่างๆ และการเช่ือมโยงต่างๆ
ของปรากฏการณท์ ี่นกั วจิ ยั พบ ยืนพื้นอยบู่ นบรบิ ทแวดลอ้ มทเ่ี ปรยี บเสมือนเป็น “ตัวแปรต้น” หากเราพบ
ตวั แปรตน้ อยา่ งถกู ตอ้ ง นกั วจิ ยั จะเหน็ ความเชอื่ มโยงของปรากฏการณท์ มี่ ากขน้ึ เรอ่ื ยๆ และยงิ่ สรา้ งความ
นา่ เชือ่ ถอื เพราะนั่นแสดงวา่ นกั วิจยั ทมุ่ เทศึกษา แสวงหาความจรงิ โดยยึดข้อมูลพน้ื ทีเ่ ปน็ หลัก
ประการที่สอง การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ โดยให้ “คนใน” ได้อ่านข้อมูลของนักวิจัย
คนในท่ีน้ีอาจหมายถึง ผู้ให้ข้อมูลหลัก และนักวิจัยคนในที่ท�ำงานร่วมกัน ซึ่งจะช่วยตรวจสอบว่า ความ
เขา้ ใจของนักวิจัยคนนอกคลาดเคล่ือน ตกหลน่ ไปหรอื ไม่ หรือตรงขา้ มกบั สง่ิ ทคี่ นในรับรู้ เปน็ ตน้