Page 48 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 48
7-38 การศกึ ษาชมุ ชนเพอื่ การวิจัยและพัฒนา
แบบไหน เม่ือปรากฏการณ์ต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป นักวิจัยท้ังสองฝั่งต้องเปิดใจกว้างรับฟัง และปรับใช้
กรอบทฤษฎีใหม่ๆ เพื่อจัดทำ� ดัชนี หรอื รหสั (โปรดดใู นขัน้ ตอนท่ี 4) และเลอื กวิเคราะห์ข้อมูลทเ่ี กีย่ วข้อง
กบั “การสอ่ื สาร” เปน็ หลัก โดยมรี ากฐานส�ำคญั อย่ทู ่ีความรู้ ความเข้าใจบรบิ ทชมุ ชนอยา่ งละเอยี ด
ดงั น้ัน นอกจากจะต้องไม่ยึดทฤษฎีจนตายตวั แล้ว กอ่ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล (ทั้งระหว่างการเกบ็
ขอ้ มลู และหลงั การเก็บขอ้ มูล) นักวิจยั ทงั้ สองฝ่งั คือ ทัง้ คนนอก และคนใน ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มูลดา้ นบรบิ ทของ
ชุมชนมาเป็นอย่างดี เช่น ข้อมูลด้านกายภาพของพ้ืนท่ี โครงสร้างของชุมชน สถาบันส�ำคัญ วัฒนธรรม
คา่ นิยม สอื่ เป็นตน้
ข้อมลู ส�ำคญั ทีต่ อ้ งเกบ็ คอื การส่อื สารภายในชมุ ชนน้นั ดำ� รงอย่อู ย่างไร และเชื่อมโยงกับสถาบนั
อ่ืนๆ อย่างไร ข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ สื่อท่ีใช้ในชุมชนที่รวมทั้งสื่อมวลชนหลัก เช่น วิทยุ โทรทัศน์
หนงั สอื พมิ พ์ กย็ งั ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สอื่ ทางเลอื กตา่ งๆ ทงั้ สอ่ื ประเพณี พธิ กี รรม วทิ ยชุ มุ ชน หอกระจาย
ขา่ ว และกระบวนการสอ่ื สาร รปู แบบการส่อื สาร เป็นต้น
การไมย่ ดึ ตดิ กบั กรอบแนวคดิ ทฤษฎมี ากจนเกนิ ไป และเขา้ ใจกระบวนการสอื่ สารของชมุ ชนตงั้ แต่
แรก เมอื่ มาประกอบกบั การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยวธิ อี ปุ นยั ทถ่ี อดเอาแกน่ และความเชอื่ มโยงของขอ้ มลู ตา่ งๆ
ในพ้ืนที่มาสร้างข้อสรุป ค่อยๆ ก่อรูปเป็นแนวคิดนามธรรม หรือทฤษฎีที่เราเรียกว่าเป็น Grounded
theory คือ ทฤษฎที ่กี อ่ รปู จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ในพน้ื ท่ี ซึง่ ในสงั คมไทยบางคร้งั บางประเดน็ อาจจะ
ไม่สามารถหาทฤษฎีตะวันตกมารองรับอธิบายได้ทุกเร่ือง การเปิดใจกว้างฟังแนวคิดระดับรากฐานจาก
คนในถือว่าเป็นการเตรียมการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทีด่ ี
กิจกรรม 7.3.1
หลักการการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชิงคณุ ภาพประกอบไปดว้ ยอะไรบ้าง จงอธิบายพอสงั เขป
แนวตอบกิจกรรม 7.3.1
หลักการการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพประกอบไปดว้ ย
1. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ มไิ ดเ้ รมิ่ ตน้ หลงั จากการเกบ็ ขอ้ มลู เหมอื นการวจิ ยั
เชงิ ปรมิ าณ แตม่ กี ระบวนการตอ่ เนอ่ื ง โดยเรม่ิ ตน้ วเิ คราะหไ์ ปพรอ้ มกบั การเกบ็ ขอ้ มลู ในสนาม (fieldwork)
ไปจนถึงหลงั การเกบ็ ขอ้ มลู
2. วธิ วี จิ ัยเชิงคณุ ภาพ จะใช้วธิ ีอุปนยั ในการวิเคราะหห์ าขอ้ สรุป
3. นกั วจิ ยั ตอ้ งเตรยี มพรอ้ ม เปดิ ใจกวา้ งเหน็ มมุ มองของทฤษฎใี หมๆ่ เปดิ ใจรบั กรอบแนวคดิ ใหมๆ่
ต้องตระหนักว่า ข้อมูล (ท่ีรวมทั้งข้อเท็จจริง มุมมอง การกระท�ำ การตีความ การยึดความหมาย และ
ความรูส้ ึก) ทร่ี วบรวมได้ ตอ้ งมาจาก “คนใน” พน้ื ท่กี ารท�ำวจิ ยั ไมใ่ ช่มาจากความคดิ เห็นของนกั วจิ ัย