Page 47 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 47

การวิเคราะหข์ ้อมูลการวจิ ยั การสอ่ื สารชุมชน 7-37
       ฉะนนั้ นกั วจิ ยั ตอ้ งตระหนกั เสมอวา่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไมใ่ ชก่ ารตง้ั ธงทฤษฎเี พอ่ื ทดสอบวา่ ทฤษฎี
สอดคล้องกับข้อมูลดิบหรือไม่ แต่นักวิจัยต้องเปิดใจกว้าง ยอมรับความเป็นจริง และต่ืนตัวที่จะหากรอบ
แนวคดิ ใหมๆ่ มาอธบิ ายขอ้ สรุปใหม้ พี ลงั และความหมายทีต่ รงทีส่ ุด
       3) 	นกั วจิ ยั ตอ้ งเตรยี มพรอ้ ม เปดิ ใจกวา้ งเหน็ มมุ มองของทฤษฎใี หมๆ่ เปดิ ใจรบั กรอบแนวคดิ ใหมๆ่
แต่ข้อมูล (ท่ีรวมทั้งข้อเท็จจริง มุมมอง การกระท�ำ การตีความ การยึดความหมาย และความรู้สึก) ที่
รวบรวมได้ ต้องมาจาก “คนใน” พื้นที่การท�ำวิจัย ไม่ใช่มาจากความคิดเห็นของ นักวิจัย แต่ก็มิใช่ว่า
นกั วจิ ยั ไมม่ มี มุ มองเปน็ ของตวั เองเลย การตคี วามขอ้ มลู แทจ้ รงิ แลว้ เปน็ งานหลกั ของนกั วจิ ยั แตด่ ว้ ยความ
ท่ีนักวิจัยมีสายตาของ “คนนอก” อยู่ด้วย ซ่ึงมี “กรอบทฤษฎี” ก�ำกับไว้อย่างหลวมๆ จะท�ำให้ข้อสรุป
หรือค�ำตอบของการวิจัยจะย่ิงคมชัด มีระบบ มีความเช่ือมโยง และถูกตรวจสอบด้วยความเป็นกลางจาก
สายตาคนนอก
       สายตา “คนใน” มีประโยชน์ตรงที่ นกั วิจัยไดร้ ับทราบข้อเท็จจริงตามความเข้าใจ ความรู้ ความ
รู้สึก และความจริงในพ้ืนท่ีการท�ำวิจัย แต่หากมีมากเกินไปจนเกิดอคติและมีมุมมองแต่เพียงด้านเดียว
จะไมส่ ามารถได้ขอ้ สรปุ ในเชิงวชิ าการท่ีแหลมคม ลุ่มลึกได้ นักวิจยั ต้องเตือนตนเองเสมอวา่ ระหว่างการ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู ไมว่ า่ จะเปน็ ขน้ั ตอนระหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มลู และหลงั การเกบ็ ขอ้ มลู การมสี ายตา “คนนอก”
มีประโยชน์ตรงทที่ �ำให้การวิเคราะห์ข้อมลู มมี ุมมองทีถ่ อยหา่ งออกจากอารมณ์ ความรู้สึกทม่ี ีมากจนบดบัง
ขอ้ เท็จจรงิ อน่ื หรอื ถอยห่างออกจากอคติ หรอื ความชอบใจ ไมช่ อบใจบางประการทีท่ ำ� ใหน้ กั วจิ ัยรสู้ ึกเหน็
อกเหน็ ใจ ชอบ หรือไม่ชอบใจคนในพืน้ ทีท่ �ำการวิจัย
       ดังน้ัน ส�ำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพแล้ว การเตรียมการวิเคราะห์ข้อมูล จึงต้องเตรียมต้ังแต่ก่อน
การเกบ็ ขอ้ มลู ในพนื้ ท่ี เตรยี มทงั้ ดา้ นกรอบแนวคดิ ทฤษฎที ร่ี มู้ ากพอจะหยบิ จบั มาวเิ คราะหไ์ ดท้ นั ทว่ งที และ
เตรยี มตวั เตรยี มใจตนเองใหเ้ ปน็ คนทสี่ ามารถมมี มุ มองกวา้ งขวาง ลมุ่ ลกึ และไมเ่ อนเอยี งจนเกดิ เปน็ ขอ้ มลู
“อัตตวสิ ัย” ทตี่ รวจสอบไมไ่ ด้
       การวิจัยเชิงคุณภาพ คือ การสังเกตปรากฏการณ์ทางสังคมที่มีลักษณะไม่แน่นอน ไม่นิ่ง
เปลย่ี นแปลงไดเ้ สมอ และยังตอ้ งศกึ ษาวเิ คราะห์ “ความเชอื่ มโยง” ของหลายๆ ปรากฏการณ์ พรอ้ มท้ัง
หาเหตุปจั จยั ที่ปรากฏการณต์ า่ งๆ ดำ� รงอย่หู รือหายไป โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชก้ ารพสิ จู น์ค่าทางสถิติ และมงุ่
เก็บรวบรวมข้อมลู ประเภท ความรู้สกึ อารมณ์ มมุ มอง ทัศนะ คา่ นิยม อดุ มการณ์ เป็นสำ� คัญ
       อยา่ งไรกต็ าม งานวจิ ัยเชงิ คุณภาพไม่ใชน่ ิยาย แมจ้ ะเกบ็ ขอ้ มูลดา้ นอารมณ์ ความร้สู ึก แต่ก็ต้อง
อธบิ ายปรากฏการณท์ เี่ ปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ ดว้ ยการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเี่ ปลยี่ นแปลง ตามปรากฏการณเ์ สมอ
ดว้ ยความเช่อื ถือได้ และด้วยความร้สู กึ ท่ีแทจ้ ริงของ “คนใน”
       ด้วยเหตุน้ี เมื่อดำ� เนินการวจิ ัยการส่ือสารชุมชน จึงต้องตระหนักเสมอว่า การวิเคราะหข์ อ้ มลู ตอ้ ง
ท�ำไปพร้อมๆ กับการเกบ็ ขอ้ มูล เพราะดว้ ยขอ้ มลู ในเชงิ ปรากฏการณ์นั้นมีการเปลีย่ นแปลงอยเู่ สมอ โดย
มีคำ� ถามการวิจยั หรอื โจทย์การวจิ ยั ทีน่ ักวิจยั ต้องยึดไว้อย่างดี เสมอื นเป็นเขม็ ทศิ สำ� คญั ให้เดินไป
       นอกจากนี้ ในการเตรียมการวิเคราะหข์ อ้ มูลการสอื่ สารชมุ ชนนน้ั นกั วจิ ยั ตอ้ งไมย่ ดึ ตดิ กบั แนวคดิ
ทฤษฎีทางวิชาการมากจนเกินไป การวางแนวคิด ทฤษฎีในระยะเร่ิมต้นควรกระท�ำร่วมกับนักวิจัยท่ีเป็น
คนใน เพื่อให้ท้ังสองฝ่ายสามารถเดินไปด้วยกัน และเข้าใจกันว่าก�ำลังมองปรากฏการณ์หนึ่งด้วยวิธีคิด
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52