Page 46 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 46
7-36 การศึกษาชมุ ชนเพ่ือการวจิ ัยและพฒั นา
เรื่องที่ 7.3.1
หลักการการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ก่อนจะถึงข้ันตอน “วิเคราะห์” นักวิจัยจะต้อง “เก็บรวบรวม” ข้อมูลมาก่อน อย่างไรก็ตาม
นกั วจิ ยั ควรตระหนกั ถงึ “ลกั ษณะพเิ ศษ” บางประการของการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งจากการ
วิจยั เชงิ ปรมิ าณหลายประการ ท�ำใหข้ น้ั การเตรียมการวเิ คราะห์ข้อมูลต้องตระหนกั ถงึ หลกั การ ดงั นี้
1) การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ มไิ ดเ้ รม่ิ ตน้ หลงั จากการเกบ็ ขอ้ มลู เหมอื นการวจิ ยั
เชงิ ปรมิ าณ แตม่ กี ระบวนการตอ่ เนอื่ ง โดยเรม่ิ ตน้ วเิ คราะหไ์ ปพรอ้ มกบั การเกบ็ ขอ้ มลู ในสนาม (fieldwork)
ไปจนถงึ หลงั การเกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ เชน่ นเ้ี พราะวธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพเชอ่ื ในปรากฏการณท์ างสงั คมที่
เป็นพลวัต ไม่หยุดนิ่ง ความรู้ต่างๆ ของนักวิจัยจะเกิดจากการตระหนักรู้ในพัฒนาการต่างๆ ของ
ปรากฏการณ์ท่ีนักวิจัยลงไปสัมผัสด้วยตนเอง จนเกิดความเข้าใจปรากฏการณ์น้ันๆ ว่ามีสาเหตุเป็นมา
อยา่ งไร ดำ� รงอยดู่ ว้ ยโครงสรา้ งแบบใด และมสี งิ่ ใดเชอ่ื มโยงสมั พนั ธก์ บั โครงสรา้ งตา่ งๆ (สภุ างค์ จนั ทวานชิ ,
2546, น. 9)
ดงั นนั้ การจะแสวงหาความรตู้ ามวธิ วี ทิ ยาเชน่ น้ี นกั วจิ ยั จงึ ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู ไป ตง้ั คำ� ถามไป วเิ คราะหไ์ ป
ว่าข้อมูลดิบที่ได้มา ท�ำไมเป็นเช่นนั้น เพราะอะไร เช่ือถือได้หรือไม่ และควรแสวงหาข้อมูลเพ่ิมเติมอีก
หรอื ไม่ อยา่ งไร ด้วยวิธใี ด
ในระหว่างการรวบรวมข้อมูลนั่นเองที่นักวิจัยต้องมีค�ำถามวิจัย และวัตถุประสงค์การท�ำวิจัยที่
ชดั เจน แตไ่ มใ่ ชย่ ดึ กรอบทฤษฎตี ายตวั แนน่ อน ไมย่ อมเปลย่ี นแปลงกรอบแนวคดิ ทฤษฎี ทง้ั ทป่ี รากฏการณ์
ที่เกดิ ข้ึนขัดแย้งกับทฤษฎไี ปแลว้ (โปรดศกึ ษาข้อ 2)
หลังจากท่ีเก็บข้อมูลเสร็จแล้ว จึงน�ำมาสู่กระบวนการวิเคราะห์อีกชั้นหน่ึง เพ่ือน�ำไปสู่ข้อสรุปที่
สามารถตอบคำ� ถามการวิจัยได้
2) การจะทำ� เชน่ ขอ้ 1) ไดน้ น้ั ตอ้ งเขา้ ใจวา่ วธิ วี จิ ยั เชงิ คณุ ภาพ จะใชว้ ธิ อี ปุ นยั ในการวเิ คราะหห์ า
ขอ้ สรปุ วธิ อี ปุ นยั (induction) คอื วธิ กี ารหาขอ้ สรปุ จากปรากฏการณจ์ รงิ ซงึ่ อาจจะเปลย่ี นไปเรอ่ื ยๆ การ
เก็บข้อมูลจะตามมาด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล สร้างข้อสรุปเบื้องต้นในลักษณะสมมติฐาน และตรวจสอบ
สมมติฐานเปน็ ข้ันๆ จนกวา่ จะพบข้อสรปุ จาก “ข้อเท็จจรงิ ” ในพืน้ ท่จี ริงๆ ท่มี ัน่ ใจและตรวจสอบได้ มิใช่
การพิสจู น์ทฤษฎีทแ่ี น่นอนตายตัวมาต้งั แต่ตน้ (Lofland et al., 2006 และสุภางค์ จนั ทวานชิ , 2546)
ดว้ ยวธิ กี ารเชน่ นเ้ี อง การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพจงึ ไมส่ ามารถยดึ กรอบทฤษฎแี นน่ อน ตายตวั
ได้เพราะการวิเคราะห์ข้อมูลในระหว่างการเก็บข้อมูล จะได้ข้อมูลใหม่ๆ ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ลักษณะการท�ำทฤษฎมี าใชข้ องวธิ วี จิ ัยเชิงคณุ ภาพ จงึ เป็นลกั ษณะการศึกษาอย่างกวา้ งๆ หลายๆ ทฤษฎี
น�ำมาใช้เป็นกรอบได้ในระหว่างการสร้างข้อสรุปช่ัวคราว แต่มิใช่ยึดเป็นกรอบมากจนเกินไป หรือในกรณี
ที่แย่ไปกวา่ นั้น ไปเปลีย่ นแปลงขอ้ มลู ดิบเพือ่ ให้เขา้ กบั ทฤษฎที ต่ี ัวนักวจิ ัยเชื่อ หรอื อ่านมาแลว้