Page 45 - ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
P. 45

หลกั การใชค้ �ำ เพ่ือการส่อื สาร ๓-35
       นอกจากนีย้ ังมคี �ำสรรพนามบรุ ุษท่ี ๑ อกี หลายคำ�  เชน่ หนู บง่ บอกวัย หรือฐานะตา่ํ กว่าผ้รู ับสาร
อาจใช้ค�ำบง่ บอกความสัมพนั ธก์ บั ผรู้ ับสาร เช่น บง่ บอกฐานะความเปน็ เครือญาติหรอื วยั เชน่ ตา ปู่ ย่า
ยาย ป้า ลงุ น้า อา พี่ น้อง เปน็ ต้น
       การเลือกใช้ค�ำให้ตรงความหมายที่ต้องการสื่อสารนี้เป็นสิ่งส�ำคัญ เนื่องจากค�ำในภาษาไทยมีทั้ง
ความหมายรวมและความหมายเฉพาะเจาะจง เชน่ คำ� ว่า “ขนม” เป็นคำ� ความหมายรวม ถ้าตอ้ งการให้
มคี วามหมายเจาะจง อาจใชว้ า่ “ขนมหวาน ขนมนาํ้ แขง็ ไส” เปน็ ตน้ แตถ่ า้ ตอ้ งการสอื่ ความหมายใหเ้ จาะจง
ยง่ิ ขึน้ ต้องระบุให้ชัดเจน เช่น “ขนมฝอยทอง ขนมหมอ้ แกง ขนมเม็ดขนุน” จัดเป็นขนมหวาน “ซ่าหร่ิม
ทบั ทิมกรอบ” จัดเป็นขนมนํ้าแข็งไส เปน็ ต้น ในลักษณะเช่นนี้ ผ้สู อื่ สารตอ้ งเลือกค�ำความหมายรวมหรอื
ค�ำความหมายเจาะจงให้สอดคล้องกับเจตนาของผู้ส่งสาร ดงั ตัวอย่าง
       ๑) 	แมข่ า ซอ้ื ขนมมาฝากลูกดว้ ยนะคะ
       ๒)	แม่ขา ซ้ือขนมน้าํ แข็งไสมาฝากลกู ดว้ ยนะคะ
       ๓)	แม่ขา ซ้ือขนมรวมมิตรมาฝากลกู ด้วยนะคะ
       จากตวั อย่างข้างตน้ จะเหน็ ว่าขอ้ ที่ ๑ เปน็ การสื่อสารโดยใช้คำ� ความหมายรวม สว่ นข้อท่ี ๒ และ
ขอ้ ที่ ๓ เป็นการใช้คำ� ท่ีมคี วามหมายเจาะจงย่งิ ขน้ึ โดยลำ� ดบั
       ในการเจาะจงความหมายให้แคบลงและชัดเจนยิ่งขึ้นน้ัน บางคร้ังอาจต้องน�ำกรรมมาขยาย ดัง
ตวั อย่าง
       ๑)	ฉนั จะไปรบั ประทานก๋วยเต๋ียว
       ๒)	ฉนั จะไปรับประทานกว๋ ยเต๋ียวเนอ้ื
       ๓)	ฉันจะไปรับประทานก๋วยเตี๋ยวเนอ้ื ลูกชน้ิ นา้ํ ใส
       ๔)	ฉันขอก๋วยเตี๋ยวเส้นหม่ีชน้ิ นาํ้ ใส ไม่งอก ไม่ชรู ส
       จากตัวอย่างข้างต้น ตัวอย่างในประโยคท่ี ๑ ใช้ค�ำว่าก๋วยเตี๋ยว อาจหมายถึง ก๋วยเตี๋ยวเน้ือ
ก๋วยเต๋ียวหมู หรืออ่ืนๆ ก็ได้ไม่เจาะจง ส่วนในประโยคท่ี ๒ ส่ือความหมายเจาะจงข้ึนเป็นก๋วยเตี๋ยวเน้ือ
แสดงวา่ ไมใ่ ช่ก๋วยเต๋ยี วหมู หรอื อื่นๆ ในประโยคที่ ๓ เนน้ เจาะจงยิง่ ขน้ึ คือก๋วยเตย๋ี วลกู ช้นิ นํา้ ใส แสดง
วา่ ไมใ่ ชก่ ว๋ ยเต๋ยี วเนื้อสด ก๋วยเต๋ยี วเนื้อต๋นุ หรือก๋วยเตย๋ี วเนอ้ื ใดๆ นอกจากกว๋ ยเต๋ียวลกู ชน้ิ นํา้ ใส ส่วนใน
ประโยคท่ี ๔ มคี วามหมายเจาะจงและให้รายละเอยี ดชัดเจนทีส่ ุด คอื ก๋วยเตี๋ยวเสน้ หมีล่ กู ชิ้นนา้ํ ใส ไม่ใส่
ถ่ัวงอกและไม่ใสผ่ งชูรส สำ� หรบั ประโยคท่ี ๔ นี้ เปน็ การสือ่ สารในชีวติ ประจ�ำวันและเปน็ ภาษาปาก จึงใช้
ค�ำตดั ใหส้ ั้นเพ่อื ความรวดเร็ว จดจำ� งา่ ย แต่ยังคงส่อื สารได้เข้าใจตรงกันระหว่างผสู้ ่ือสารและผูร้ ับสาร
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50