Page 25 - ความเป็นครู
P. 25
คุณธรรมจริยธรรมส�ำหรับครู 14-15
นอ้ ยใหญ่ สว่ นงานของราชการ สว่ นงานของตวั เองเปน็ สว่ นตวั ทง้ั หมดคอื ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และคำ� วา่ ซอ่ื สตั ย์
สุจริตน้ีก็มาจากค�ำว่า การท่องเท่ียวของจิตใจในทางที่ดี หรือคิดให้ดี คิดให้สุจริต ทั้งฉลาดด้วย ท้ังไม่
เบียดเบียนผู้อ่ืนหรือการงานของตัว ท้ังไม่เบียดเบียนส่วนรวมด้วย จึงจะเป็นผู้สุจริต...” (ภูมิพลอดุลเดช,
2551, น. 33)
ดังนั้น ความซ่ือสัตย์สุจริต จึงหมายรวมถึง ความประพฤติตรง ความประพฤติชอบ จริงใจ
ไม่คิดคดทรยศ ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง ไม่เบียดเบียนการงานของตน ผู้อ่ืน และส่วนรวม
5.2.2 ประโยชน์ของความซ่ือสัตย์สุจริต ความซื่อสัตย์สุจริตมีประโยชน์ในการท�ำหน้าที่ให้
ตรงตามจุดประสงค์และหลักการ ท�ำประโยชน์ต่อส่วนรวมมีประโยชน์ในการท�ำงานให้ส�ำเร็จตามเป้าหมาย
อันจะน�ำไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองของประเทศชาติ ดังท่ีปรากฏในพระบรมราโชวาท และพระราชด�ำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร วฒุ บิ ตั ร ประกาศนยี บตั ร และเขม็ วทิ ยฐานะ
แก่ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยการทัพบก วิทยาลัย
การทัพเรือ วิทยาลัยการทัพอากาศ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ และโรงเรียน
เสนาธกิ ารทหารอากาศ ณ อาคารใหม่ สวนอมั พร วนั องั คารที่ 16 ตลุ าคม 2522 ความวา่ “...ถา้ มคี วามสจุ รติ ใจ
ไม่พอ หรือไม่หนักแน่นแน่วแน่พอที่จะท�ำหน้าท่ีให้ตรงตามจุดประสงค์และหลักการที่ศึกษามา ก็อาจท�ำให้
เกิดความเสียหายใหญ่หลวงแก่ชาติได้ต่าง ๆ โดยง่าย...” (ภูมิพลอดุลยเดช, 2551, น. 35)
พระราชด�ำรัส ในโอกาสท่ีคณะผู้อ�ำนวยการและอาจารย์ใหญ่จากโรงเรียนต่าง ๆ ในเขตอ�ำเภอ
ดุสิต “กลุ่มจิตรลดา” เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ตามพระราชอัธยาศัย ณ
พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันอังคารที่ 18 มีนาคม 2523 ความว่า “...ผู้ท่ีมีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ
แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมท�ำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้มีความเมตตาแต่ไม่มีความสุจริต ไม่มี
ความบริสุทธิ์ใจ...” (ภูมิพลอดุลยเดช, 2551, น. 40)
พระราชดำ� รสั ในโอกาสที่ ฯพณฯ พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ นายกรฐั มนตรี นำ� คณะรฐั มนตรี
เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เพ่ือถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน
วันจันทร์ที่ 9 พฤษภาคม 2526 ความว่า “...ซื่อสัตย์สุจริตนี้มีความส�ำคัญ เพราะถ้าหากว่าแต่ละคนมีความ
ต้ังใจแล้ว แต่ไม่มีความซ่ือสัตย์สุจริต ก็ไม่มีเป้าหมายท่ีแน่นอน จะเปะปะไปทางโน้นทีทางน้ีที ไม่มีทาง
ที่จะส�ำเร็จในการงานใด ๆ ฉะน้ัน การที่มีความซ่ือสัตย์สุจริตนั้นมีความส�ำคัญอยู่อันดับแรกก็คือ การให้รู้จัก
เป้าหมายของงาน คือความเจริญรุ่งเรืองของประเทศชาติ...” (ภูมิพลอดุลยเดช, 2551, น. 69)
พระบรมราโชวาท พระราชทานเพอื่ เชญิ ลงพมิ พใ์ นหนงั สอื วนั เดก็ ปพี ทุ ธศกั ราช 2531 ความวา่
“... ความซ่ือสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็ก ๆ จึงต้องฝึกฝน อบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง
เพอื่ จกั ไดเ้ ตบิ โตขนึ้ เปน็ คนดมี ปี ระโยชนแ์ ละมชี วี ติ ทส่ี ะอาดทเ่ี จรญิ มนั่ คง...” (ภมู พิ ลอดลุ ยเดช, 2551, น. 82)
พระราชด�ำรัส ในโอกาสที่นายกรัฐมนตรี น�ำคณะรัฐมนตรีเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อน
เข้ารับหน้าท่ี ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันเสาร์ท่ี 15 พฤศจิกายน 2540 ความว่า “....ในสถานการณ์
ปัจจุบัน ความเข้มแข็งซ่ือสัตย์สุจริตจะเป็นส่ิงส�ำคัญมาก เพราะว่าถ้าแต่ละคนปฏิบัติด้วยความตั้งอกตั้งใจ