Page 26 - ความเป็นครู
P. 26

14-16 ความเป็นครู

จริง ๆ ก็สามารถจะผ่านพ้นอุปสรรคทุกอย่าง โดยเฉพาะจะต้องท�ำด้วยความเฉลียวฉลาดและสอดคล้อง
กัน...” (ภูมิพลอดุลยเดช, 2551, น. 110)

            5.2.3	 พฤติกรรมความซื่อสัตย์สุจริตของครู ผู้ท่ีอยู่ในวิชาชีพครูควรมีความซื่อสัตย์สุจริต
โกวิท ประวาลพฤกษ์ (2528, น. 582-592) กล่าวถึง พฤติกรรมความซื่อสัตย์สุจริตท่ีครูควรประพฤติ
ดังต่อไปนี้

                1)	 ถ่ายทอดความรู้โดยไม่ปิดบังอ�ำพราง
                2)	 ไม่เบียดบังแรงงานหรือน�ำผลงานของผู้อ่ืนมาเป็นของตน
                3)	 ไม่เบียดบังทรัพย์สินส่วนรวมหรือส่วนราชการไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือ
พวกพ้อง
                4)	 ไม่อวดอ้างความสามารถเกินความจริง
                5)	 ไม่น�ำหรือยอมให้น�ำผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางทุจริตหรือเป็นภัยต่อ
มนุษยชาติ
                6)	 ใช้เวลาราชการเพ่ือประโยชน์ทางราชการอย่างเต็มท่ี
                7)	 ไม่ชักชวนศิษย์กระท�ำในสิ่งที่เส่ือมเสีย
                8)	 เข้าสอนและเลิกสอนตามเวลาท่ีก�ำหนด
                9)	 ไม่ประจบสอพลอผู้บังคับบัญชาเพื่อประโยชน์ส่วนตน
                10)	 ปฏิบัติหน้าที่อย่างดีท้ังต่อหน้าและลับหลังผู้บังคับบัญชา
                11)	 เป็นบุคคลรักษาค�ำมั่นสัญญา
       5.3		จติ สาธารณะ
            5.3.1	 ความหมายของจิตสาธารณะ จิตสาธารณะ (Public Mind) หรือจิตส�ำนึกสาธารณะ
(Public Consciousness) มีผู้ให้ความหมายไว้ใกล้เคียงกัน ดังน้ี
            พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของค�ำว่า จิตส�ำนึก ไว้ว่า ภาวะ
ท่ีจิตต่ืน และรู้ตัว สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากประสาทสัมผัสท้ัง 5 คือ รูป เสียง กล่ิน รส และสิ่งท่ีสัมผัส
ได้ด้วยกาย (2556, น. 325) และค�ำว่า สาธารณะ ไว้ว่า เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์
สาธารณะ บ่อน้ําสาธารณะ ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในท่ีสาธารณะ
(2556, น. 1214)
            สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (2542) ไดใ้ หค้ วามหมายของ จติ สาธารณะ วา่ หมายถงึ
การรู้จักเอาใจใส่เป็นธุระและเข้าร่วมในเร่ืองของส่วนรวมท่ีเป็นประโยชน์ต่อชาติ มีความส�ำนึกและยึดม่ันใน
ระบบคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทดี่ งี าม ละอายตอ่ สงิ่ ผดิ เนน้ ความเรยี บรอ้ ย ประหยดั และมคี วามสมดลุ ระหวา่ ง
มนุษย์ และธรรมชาติ
            ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ (2542) กล่าวว่า จิตสาธารณะ หมายถึง ความเป็นพลเมืองผู้ต่ืน รู้ตระหนัก
ในสทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบทจี่ ะสรา้ งสรรคส์ งั คมสว่ นรวมของคนสามญั พลเมอื งทร่ี กุ เรยี กรอ้ งการมสี ว่ นรว่ ม
และต้องการที่จะจัดการดูแลก�ำหนดชะตากรรมของตนและชุมชน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31