Page 57 - ความเป็นครู
P. 57
คุณธรรมจริยธรรมส�ำหรับครู 14-47
ตารางท่ี 14.8 การลงโทษทางวินยั
วินยั ไมร่ ้ายแรง - ใช้ลงโทษในกรณีท่ีเป็นความผิดเล็กน้อยหรือมีเหตุอันควรลดหย่อนโทษซึ่งยังไม่ถึงกับ
1. ภาคทัณฑ์ ต้องถูกตัดเงินเดือน โดยไม่ต้องห้ามการเล่ือนขั้นเงินเดือน
2. ตัดเงินเดือน - ใช้ลงโทษในกรณีท่ีเป็นความผิดท่ีไม่ถึงกับเป็นความผิดร้ายแรงและไม่ใช่กรณีท่ีเป็น
3. ลดข้ันเงินเดือน ความผิดเล็กน้อย
วนิ ยั ร้ายแรง
4. ปลดออก - ใชล้ งโทษแกก่ รณที เี่ ปน็ ความผดิ วนิ ยั รา้ ยแรงเทา่ นนั้ โดยใหพ้ จิ ารณาโทษตามพฤตกิ ารณ์
5. ไล่ออก แห่งการกระท�ำหรือความร้ายแรงแห่งกรณี
ที่มา: วงจันทร์ ชีวธาดาวิรุทน์. (2549). คู่มือการด�ำเนินการทางวินัยส�ำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. ใน รวมตัวอย่าง
ความผิดทางวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการหารือข้อกฎหมาย. กรุงเทพฯ: จัดพิมพ์โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา คุรุสภาลาดพร้าว, น. 551-552.
3. การด�ำเนินการทางวนิ ัย
การด�ำเนินการทางวินัย หมายถึง กระบวนการและข้ันตอนการด�ำเนินการในการออกค�ำส่ังลงโทษ
ซ่ึงเป็นข้ันตอนที่มีล�ำดับก่อนหลังต่อเนื่องกัน ได้แก่ การต้ังเรื่องกล่าวหา การสืบสวนสอบสวน การพิจารณา
ความผิด การก�ำหนดโทษและการส่ังลงโทษ รวมท้ังการด�ำเนินการต่าง ๆ ในระหว่างการสอบสวนพิจารณา
เช่น การสั่งพัก การสั่งให้ออกไว้ก่อนเพ่ือรอฟังผลการสอบสวนพิจารณา อนึ่ง การสอบสวนเพื่อพิจารณาว่า
กรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าผู้น้ันกระท�ำผิดวินัยหรือไม่ยังไม่ถือเป็นการด�ำเนินการทางวินัย การสืบสวนที่
เป็นการด�ำเนินการทางวินัยจึงหมายถึงการสืบสวนกรณีที่เป็นความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้งซ่ึงกฎหมายก�ำหนดให้
ต้องสืบสวนก่อน
หลักการด�ำเนินการทางวินัยเบื้องต้น
1) ในกรณที ผี่ บู้ งั คบั บญั ชาพบวา่ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาผใู้ ดกระทำ� ผดิ วนิ ยั โดยมพี ยานหลกั ฐานในเบอ้ื งตน้
อยู่แล้ว ผู้บังคับบัญชาก็สามารถด�ำเนินการทางวินัยได้ทันที เช่น ผู้บังคับบัญชาพบเห็นการกระท�ำผิด ก็อาจ
สั่งให้ผู้นั้นช้ีแจงหรือรายงานข้อเท็จจริง และอาจสืบสวนผู้รู้เห็นประกอบการพิจารณาด้วย เม่ือพิจารณาแล้ว
เหน็ วา่ มมี ลู กรณเี กดิ ขน้ึ จรงิ กส็ งั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขนึ้ สอบสวนเพอื่ ใหไ้ ดค้ วามจรงิ และความยตุ ธิ รรมตอ่ ไป
2) กรณีที่มีการร้องเรียนด้วยวาจา ให้จดปากค�ำและให้ผู้ร้องเรียนลงลายมือช่ือและวัน เดือน ปี
พร้อมรวบรวมพยานหลักฐานอื่น ๆ ประกอบการพิจารณา แล้วด�ำเนินการให้มีการสืบสวนข้อเท็จจริงโดยต้ัง
กรรมการสืบสวน หรือส่ังให้บุคคลใดไปสืบสวน หรือเรียกบุคคลท่ีเก่ียวข้องมาสอบถามก็ได้ หากเห็นว่ากรณี
มีมูลที่ควรกล่าวหา ก็ให้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนต่อไป