Page 51 - สังคมมนุษย์
P. 51
มนษุ ยก์ บั สถาบันสังคมและการจัดช่วงชน้ั ทางสังคม 3-41
ในการแบ่งช่วงชั้นทางสังคมจะพิจารณาจากพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และความสามารถบุคคลที่อยู่
ในชนชัน้ เดยี วกัน จะประกอบดว้ ยผ้ทู ี่มคี วามเทา่ เทียมกันในบทบาทและความส�ำเรจ็ ทางเศรษฐกิจ ใครจะ
มอี าชพี หรอื ตำ� แหนง่ อะไรถอื เปน็ เรอ่ื งของความสามารถของบคุ คล ซงึ่ โดยทวั่ ไปจะตอ้ งแขง่ ขนั กบั คนอน่ื ๆ
ในระบบเศรษฐกจิ ในระบบชนชัน้ น้นั ผูค้ นจะมีโอกาสเลื่อนช้นั ทางสงั คมไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง เพราะสงั คม
จะเปิดโอกาสแกท่ ุกคนเทา่ เทียมกันตามความพยายาม และความสามารถทางเศรษฐกิจและสังคม
4. ความส�ำนึกทางชนชั้น
ความส�ำนึกทางชนช้ัน หมายถงึ (จ�ำนงค์ อดวิ ฒั นสทิ ธิ และคณะ, 2540, น. 71-72) ความรสู้ กึ
ตระหนักในความเป็นพวกเดียวกันของคนท่ีมีลักษณะทางชนชั้นร่วมกัน และความตระหนักใน
ผลประโยชนแ์ ละปญั หาทม่ี ีรว่ มกันของสมาชกิ ในชนชั้นของตน
ชนช้ันเป็นสิ่งที่มีอยู่ทั่วไปแต่คนท่ีมีลักษณะเป็นชนช้ันเดียวกันอาจไม่ได้รวมตัวกันเป็นกลุ่มทาง
สังคม การรวมตัวกันเป็นกลุ่มของคนแต่ละชนช้ันข้ึนอยู่กับปัจจัยบางประการ เช่น การติดต่อสัมพันธ์
ระหวา่ งคนทม่ี ลี กั ษณะทางชนชน้ั รว่ มกนั การมคี วามขดั แยง้ กนั ระหวา่ งคนตา่ งชนชน้ั และการมคี วามสำ� นกึ
ทางชนช้นั
ความสำ� นกึ ทางชนชนั้ ในแตล่ ะบคุ คลจะมรี ะดบั มากนอ้ ยไมเ่ ทา่ กนั แมจ้ ะอยใู่ นชนชนั้ เดยี วกนั ระดบั
ของความส�ำนึกทางชนช้ันอาจแยกได้เป็นระดับต่างๆ จากน้อยไปมาก เช่น บางคนอาจเพียงแต่รู้สึกว่า
ตวั เองเปน็ ชนช้นั หนึง่ ทีต่ ่างจากชนช้นั อ่ืน บางคนรู้สกึ ถงึ การเอารดั เอาเปรยี บระหว่างชนชั้น และรู้สึกเป็น
ปฏิปักษ์กับชนช้ันท่ีเหนือกว่า บางคนมีความรู้สึกและมีการกระท�ำเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชนช้ันของ
ตน เชน่ มีการรวมตัวกันเคลื่อนไหวเรียกรอ้ งผลประโยชน์แก่ชนชัน้ ตน และบางคนปรารถนาและตอ่ สเู้ พ่อื
เปลีย่ นแปลงระดบั สงั คมใหไ้ ปสู่สังคมทเ่ี ทา่ เทียมกนั
คนสว่ นใหญม่ กั จะรหู้ รอื ถอื วา่ ตนเปน็ ชนชนั้ ไหน เปน็ คนรวย คนชนชนั้ กลาง และคนจน จากความ
รสู้ กึ และถอื ตนเชน่ นมี้ กั ทำ� ใหแ้ ตล่ ะคนสรา้ งพฤตกิ รรมทแี่ ตกตา่ งกนั เชน่ การดถู กู เหยยี ดหยาม ความอจิ ฉา
ริษยา การให้ร้ายป้ายสี หรือแม้กระท่ังความพยายามท่ีจะให้ต้องหลุดพ้นจากฐานะท่ีต่ําต้อย ความรู้สึก
ทำ� นองนที้ ำ� ใหเ้ กดิ ความสำ� นกึ ในเรอื่ งการแบง่ กลมุ่ ขน้ึ มาวา่ เราเปน็ พวกทอี่ ยใู่ นชนั้ สงู ชน้ั กลาง หรอื ชนั้ ลา่ ง
หรอื ชนชน้ั ผใู้ ชแ้ รงงาน
นอกจากความส�ำนึกว่าตนสังกัดชั้นใดช้ันหน่ึงแล้ว คนเราในแต่ละช้ันของสังคมนั้นมักจะมี
พฤติกรรมและความรู้สึกนึกคิดแตกต่างอีกด้วย ซ่ึงความแตกต่างดังกล่าวน้ี นักสังคมวิทยาเน้นว่าเห็น
สง่ิ ทมี่ ปี ระโยชนใ์ นการทำ� นายพฤตกิ รรมดา้ นตา่ งๆ ของมนษุ ยแ์ ละความแตกตา่ งทางชว่ งชน้ั ทางสงั คมของ
คนเรานนั้ ยงั ก่อให้เกิดความแตกต่างในพฤตกิ รรมทางเศรษฐกิจ การศกึ ษา การนบั ถอื ศาสนา รสนิยมใน
ชีวติ การยึดประเพณี วัฒนธรรม บคุ ลกิ ภาพ การประกอบอาชีพ สนั ทนาการ และอื่นๆ อีกหลายประการ
(อารง สทุ ธาศาสตร์, 2549, น. 96-99)