Page 36 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 36
1-26 ส่ือ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เร่อื งที่ 1.2.1 สอื่ โสตทศั น์
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าสื่อเป็นตัวกลางที่น�ำเอาสาร ได้แก่ ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์และเจตคติ
จากผู้สอนไปยังผู้เรียน ผู้เรียนเองก็จะรับสารโดยอาศัยอวัยวะต่าง ๆ ในการรับรู้ ซึ่งมนุษย์เราจะรับรู้โดยผ่าน
ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และการสัมผัส ประสาทสัมผัสเหล่าน้ีช่วยให้เรารับรู้หรือ
เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเราได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงตาและหูยังช่วยให้เรารับรู้สิ่งท่ีอยู่ห่างออกไปได้อีกด้วย
ภาพท่ี 1.6 ประสาทสมั ผัสทั้ง 5
จากภาพท่ี 1.6 ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นท่ีทราบกันดีว่ามนุษย์เราสามารถรับรู้และจ�ำได้ดีท่ีสุดผ่าน
ทางการมองเหน็ และการไดย้ นิ จงึ เปน็ ทมี่ าของสอ่ื โสตทศั น์ ซงึ่ ไดแ้ ก่ สอื่ ทน่ี ำ� เสนอความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์
และเจตคติจากผู้สอนไปยังผู้เรียน โดยผ่านทางสื่อที่เป็นภาพและเสียง ซึ่งเม่ือกล่าวถึงโดยรวมแล้วจะเห็นว่า
ส่ือโสตทัศน์ (Audio visual media) ก็คือ สื่อการศึกษา (Instructional media) น่ันเอง เน่ืองจากส่ือ
การศกึ ษาหรอื ส่ือในการเรยี นการสอนทกุ สอ่ื เราสามารถรบั รไู้ ดโ้ ดยผา่ นทางการมองเหน็ และการได้ยนิ ยกเวน้
ผู้ท่ีไม่สามารถมองเห็นได้ก็ต้องเรียนรู้โดยใช้ส่ือที่ผ่านทางประสาทสัมผัสอื่น เช่น อักษรเบรลล์ (Braille) ท่ี
ส่ือสารผ่านทางประสาทสัมผัสทางน้ิวมือ
ประเภทของส่ือโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภทแตกต่างกันไปตามเกณฑ์ท่ีใช้ในการแบ่ง
โดยทั่ว ๆ ไปจะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ส่ือประเภทไม่ใช้เครื่องฉาย (non-projected media) สื่อประเภทน้ีสามารถน�ำไปใช้ได้เลย
โดยไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ประเภทเครื่องฉาย หรืออุปกรณ์อื่นร่วมด้วยในการใช้งาน ได้แก่ เอกสาร ต�ำรา