Page 62 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 62
2-52 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งก�ำเนิดอิเล็กตรอน เลนส์สนามแม่เหล็กไฟฟ้า แหล่งก�ำเนิดอิเล็กตรอน
ล�ำอิเล็กตรอน (เลนส์ใกล้วัตถุ) ล�ำอิเล็กตรอน
เลนส์สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
เลนส์สนามแม่เหล็กไฟฟ้า อิเล็กตรอนท่ีกระจายวัสดุ (เลนส์รวมล�ำอิเล็กตรอน)
(เลนส์รวมล�ำอิเล็กตรอน)
วัสดุที่ศึกษา ขดลวดส่องกราด
วัสดุที่ศึกษา ก. ข.
เลนส์สนามแม่เหล็กไฟฟ้า เคร่ืองตรวจจับอิเล็กตรอน
(เลนส์ใกล้วัตถุ)
เลนส์สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
(เลนส์ฉาย)
จอรับภาพ
ภาพที่ 2.21 กลอ้ งจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบสอ่ งผ่าน (ก) และกล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนแบบส่องกราด (ข)
ทม่ี า: ส ถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (สสวท.). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานชีววิทยา. ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6.
(http://www.scimath.org/ebook/sci/sci-sec4/3/eBook/)
หลักการท�ำงานของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเหมือนกับกล้องแบบใช้แสง แต่เลนส์ของ
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเกิดจากแม่เหล็กไฟฟ้า ท�ำให้มีก�ำลังขยายสูง สามารถส่องดูวัตถุที่มีขนาดเล็กได้
ถึงประมาณ 0.5 นาโนเมตร ภาพท่ีเกิดข้ึนเป็นภาพเสมือน ปรากฏบนจอท่ีฉาบด้วยสารเรืองแสงเช่นเดียวกับ
จอรับภาพโทรทัศน์
ตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษากับกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านน้ัน จะต้องตัดตัวอย่าง
ให้บางมากและย้อมด้วยสารประกอบโลหะซึ่งทึบล�ำแสงอิเล็กตรอน ถ้าบริเวณที่ย้อมมีโลหะติดมาก
ล�ำอิเล็กตรอนจะผ่านได้น้อยกว่าบริเวณที่โลหะติดน้อย นักชีววิทยาใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ
ส่องผ่านเพื่อศึกษาส่วนประกอบภายในของวัตถุ
ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษากับกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดนั้น จะต้องเคลือบผิว
ตัวอย่างด้วยโลหะประเภททองค�ำ และใช้ล�ำแสงอิเล็กตรอนขนาดเล็กมากโฟกัสและกราดไปตามผิวตัวอย่าง
ท�ำให้เกิดภาพที่มีความเข้มของเงาต่างกัน นักชีววิทยาใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านเพ่ือศึกษา
โครงสร้างภายนอกของวัตถุ
อเิ ลก็ ตรอนทก่ี ระจายจากตวั อยา่ งจะถกู ตรวจจบั ดว้ ยเครอื่ งตรวจจบั อเิ ลก็ ตรอนสง่ ไปยงั หลอด
โทรทัศน์เพ่ือให้ปรากฏภาพขึ้นในจอรับภาพ ผู้ศึกษาจะศึกษาจากภาพในจอรับภาพหรือบันทึกภาพจากกล้อง
ถ่ายภาพท่ีอยู่ตรงส่วนล่างของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน