Page 63 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 63
ส่ือท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนชีววิทยา 2-53
ก. ข. ค.
ภาพที่ 2.22 ตัวอย่างภาพถา่ ยทไ่ี ด้จากกล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงและกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอน
ทีม่ า: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (สสวท.). หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานชีววิทยา. ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6.
(http://www.scimath.org/ebook/sci/sci-sec4/3/eBook/)
จากภาพท่ี 2.22 แสดงตัวอย่างภาพถ่ายเซลล์เม็ดเลือดขาวของงูจงอางจากกล้องจุลทรรศน์
แบบต่าง ๆ ได้แก่ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเลนส์ประกอบ (ก) กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน
(ข) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (ค)
1.1.3 กล้องถ่ายทอดสัญญาณ กล้องจุลทรรศน์ดิจิทัลและชุดถ่ายทอดสัญญาณส�ำหรับ
เช่ือมต่อและส่งสัญญาณภาพท่ีได้เข้าคอมพิวเตอร์ เพ่ือบันทึกรูปหรือวิดีโอ โดยสามารถวัดระยะหรือ
ปรับแต่งรูปได้ รวมถึงชุดอุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเข้าโทรทัศน์
1.2 สว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศนแ์ ละอปุ กรณท์ ี่ใชร้ ่วมกับกลอ้ งจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์ท่ีผู้เรียนระดับมัธยมศึกษามักจะได้ใช้ คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ซ่ึงมี
ส่วนประกอบดังต่อไปน้ี
1.2.1 ฐาน (Base) เป็นส่วนที่ใช้วางบนโต๊ะ ท�ำหน้าที่รับนํ้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์
มีรูปร่างสี่เหล่ียม หรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุ่มส�ำหรับปิดเปิดไฟฟ้า
1.2.2 แขน (Arm) เป็นส่วนเชื่อมตัวล�ำกล้องกับฐาน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้าย
กล้องจุลทรรศน์
1.2.3 ลำ� กลอ้ ง (Body tube) เป็นส่วนที่ปลายด้านบนมีเลนส์ตา ส่วนปลายด้านล่างติดกับเลนส์
วัตถุ ซ่ึงติดกับแผ่นหมุนได้ เพ่ือเปลี่ยนเลนส์ขนาดต่าง ๆ ติดอยู่กับจานหมุนที่เรียกว่า Revolving Nose-
piece
1.2.4 ปุ่มปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ท�ำหน้าท่ีปรับภาพโดยเปล่ียนระยะโฟกัส
ของเลนส์ใกล้วัตถุ (เลื่อนล�ำกล้องหรือแท่นวางวัตถุขึ้นลง) เพ่ือท�ำให้เห็นภาพชัดเจน
1.2.5 ปุ่มปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ท�ำหน้าที่ปรับภาพ ท�ำให้ได้ภาพที่ชัดเจน
มากข้ึน