Page 33 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 33
13-23
ตอนท่ี 13.3
กรณตี วั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
ทักษะกระบวนการและการสบื เสาะทางวิทยาศาสตร์ในงานวิจยั
โปรดอ่านแผนการสอนประจ�ำตอนท่ี 13.3 แล้วจึงศกึ ษาสาระสงั เขป พร้อมปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในแตล่ ะเรื่อง
หัวเรื่อง
เรื่องท่ี 13.3.1 กรณีตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องมือวัดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในงานวิจัย
เร่ืองท่ี 13.3.2 ก รณีตัวอย่างการประยุกต์ใช้เคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในงานวิจัย
เร่ืองท่ี 13.3.3 กรณีตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องมือวัดการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ใน
งานวิจัย
แนวคิด
1. การประยุกต์ใช้เคร่ืองมือวัดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในงานวิจัยมีกระบวนการสร้าง
เคร่ืองมือ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกับการสร้างแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก�ำหนดส่ิงท่ีต้องการวัด วิเคราะห์เน้ือหา วิเคราะห์จุดประสงค์
การเรียนรู้ สร้างแผนผังการออกข้อสอบ สร้างแบบทดสอบตามแผนผังที่ก�ำหนด
ตรวจสอบคณุ ภาพแบบทดสอบในดา้ นความตรงตามเนอื้ หา ความยาก อำ� นาจจำ� แนก และ
ความเที่ยง
2. การประยุกต์ใช้เครื่องมือวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีกระบวนการสร้าง
เคร่ืองมือ ประกอบด้วย การก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการสร้างเคร่ืองมือ การก�ำหนดส่ิง
ท่ีต้องการวัด ก�ำหนดลักษณะข้อสอบ การจัดท�ำแผนผังการสร้างเครื่องมือ การจัดท�ำ
เคร่ืองมือฉบับร่าง และตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือเป็นรายข้อในเรื่องความยากและ
อ�ำนาจจ�ำแนก และตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทั้งฉบับในด้านความตรงและ
ความเท่ียง
3. การประยุกต์ใช้เคร่ืองมือวัดการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ในงานวิจัยมีกระบวนการสร้าง
เคร่ืองมือ ประกอบด้วย การก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการสร้างเคร่ืองมือ การก�ำหนด
ส่ิงท่ีต้องการวัด การก�ำหนดลักษณะพฤติกรรมที่ต้องการวัด สร้างแบบสังเกต ตรวจสอบ
คุณภาพเบื้องต้นของแบบสังเกตด้านความตรงเชิงเน้ือหา และตรวจสอบความเที่ยงของ
เครื่องมือ