Page 12 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 12

3-2 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ

หนว่ ยท่ี 3

จรยิ ธรรมในการจดั การด้านอาหารและโภชนาการ

เค้าโครงเนื้อหา

            ตอนท่ี 	3.1	 จริยธรรมของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการ
            	 3.1.1	 ความหมาย และความสำ� คญั ของจรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบการอาหารและโภชนาการ
            	 3.1.2	 ค วามรับผดิ ชอบ และการจดั การดา้ นจรยิ ธรรมของผูป้ ระกอบการด้านอาหารและ

                     โภชนาการ
            ตอนที่ 	3.2	 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการ
            	 3.2.1	 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
            	 3.2.2	 กฎหมายท่ีเก่ียวข้องในห่วงโซ่อาหาร
            ตอนที่ 	3.3	 ก ารสร้างเสริมจริยธรรมของเครือข่ายผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการ

                     กับชุมชน
            	 3.3.1	 การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการเชิงจริยธรรม
            	 3.3.2	 บทบาทการสร้างเสริมจริยธรรมของภาคีเครือข่ายผู้ประกอบการด้านอาหารและ

                     โภชนาการกับชุมชน

แนวคดิ  1.		จริยธรรมเป็นส่ิงจรรโลงเศรษฐกิจ สังคม และเป็นปัจจัยท่ีท�ำให้การบริหารมีประสิทธิภาพ
           ประสิทธิผล มีความโปร่งใส ผู้ประกอบการท่ีต้องแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ จ�ำเป็น
           ต้องสร้างและพัฒนาวัฒนธรรมที่ดีในองค์กรของทุกระดับ ซ่ึงผู้ประกอบการด้านอาหาร
           และโภชนาการต้องตระหนักถึงหน้าที่ ผลกระทบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเสมอ
           รวมทงั้ ตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม และการจดั การดา้ นจรยิ ธรรม ซงึ่ นำ� ไปสกู่ ารดำ� เนนิ
           ธุรกิจท่ียั่งยืน

        2.		ส ภาวะทางเศรษฐกิจที่มีการเปล่ียนแปลงซึ่งมีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ ท�ำให้
           ผู้ประกอบการเกิดการแข่งขันทางการค้าอย่างรุนแรง ส่งผลต่อผู้บริโภคท่ีมักจะตกเป็น
           เหยอื่ ของผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทข่ี าดคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ภาครฐั จงึ จำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งคมุ้ ครอง
           ผู้บริโภคด้วยการออกกฎหมายข้อบังคับ ประกอบด้วย บทบัญญัติเกี่ยวกับความผิดและ
           บทกำ� หนดโทษตามกฎหมายสำ� หรบั ผกู้ ระทำ� ความผดิ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การคมุ้ ครอง
           ผู้บริโภคด้านอาหารและโภชนาการ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17