Page 17 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 17

จริยธรรมในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ 3-7

       1)	 จริยธรรมต่อลูกค้า เป็นการปฏิบัติต่อลูกค้า เช่น การขายสินค้าและบริการในราคายุติธรรม
โดยสินค้าและบริการต้องมีคุณภาพ ตลอดจนการดูแลให้บริการแก่ลูกค้าทุกคนเท่าเทียมกัน ละเว้น
การกระท�ำใด ๆ ที่ท�ำให้ราคาสูงขึ้นโดยไม่มีเหตุผล และปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างมีน�้ำใจ

       2)	 จริยธรรมต่อคู่แข่งขัน การปฏิบัติต่อคู่แข่งโดยการให้ความร่วมมือในการแข่งขัน เช่น การให้
ขอ้ มลู ดา้ นตา่ ง ๆ ละเวน้ การกลน่ั แกลง้ การใหร้ า้ ยปา้ ยสี การขม่ ขหู่ รอื กดี กนั ไมว่ า่ จะโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม

       3)	 จริยธรรมต่อหน่วยงานราชการ โดยการท�ำธุรกิจควรตรงไปตรงมา ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของ
กฎหมายในการท�ำธุรกิจ ละเว้นจากการติดสินบนเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานราชการ ไม่สนับสนุนข้าราชการ
ทำ� ทุจริต ละเวน้ การใหข้ องขวญั หรือของก�ำนลั แกข่ า้ ราชการ มีทัศนคติทด่ี ี มคี วามเช่ือถือและใหค้ วามร่วมมอื
ต่อหน่วยงานราชการ อันเป็นหน้าท่ีของพลเมืองที่ดี

       4)	 จริยธรรมต่อพนักงาน โดยการให้ค่าจ้างเหมาะสม เอาใจใส่ต่อสวัสดิการและความปลอดภัย
ในการท�ำงาน พัฒนาให้ความรู้ เพ่ิมความช�ำนาญ ให้ความเป็นธรรม และโอกาสที่เท่าเทียมกัน ศึกษานิสัย
ใจคอและความถนัดของพนักงาน เคารพสิทธิส่วนบุคคลของพนักงาน ให้ความเช่ือถือและไว้เน้ือเช่ือใจ ให้
ค�ำแนะน�ำ เป็นที่ปรึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานเป็นคนดี

       5)	 จริยธรรมต่อนายจ้าง โดยต้องมีความซ่ือสัตย์สุจริตในการปฏิบัติงาน รักษาและรับผิดชอบ
ทรัพย์สินของนายจ้างให้ได้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ระมัดระวังเรื่องการวางตัวในสังคม และหลีกเล่ียงการขัด
ผลประโยชน์ในทางที่ถูกท่ีควรของนายจ้าง

       6)	 จริยธรรมต่อสังคม โดยละเว้นการประกอบธุรกิจท่ีท�ำให้สังคมเส่ือมลง ไม่ท�ำลายทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เคารพสทิ ธทิ างปญั ญาของบคุ คลอนื่ ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ชมุ ชนเพอื่ สรา้ งสรรคส์ งั คม
และให้ความสนใจเร่ืองการสร้างงานแก่คนในสังคม

       การปฏิบัติงานของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการให้มีคุณภาพเป็นท่ีเช่ือถือและไว้วางใจ
ได้ในเรื่องของความปลอดภัยและการบริการที่ดีต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยค�ำนึงถึงจริยธรรมท่ีมี
ต่อผู้ท่ีเกี่ยวข้องดังได้กล่าวข้างต้นอย่างสม่�ำเสมอ และค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมภายนอก และผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย ทั้งนี้มาตรฐานความประพฤติที่ดี จะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยความสัมพันธ์ ระหว่างจรรยาคือความ
ประพฤติ และธรรม คือเคร่ืองรักษาความประพฤติ ในการช่วยส่งเสริมและควบคุมการผลิต เพื่อให้ผู้บริโภค
ได้รับอาหารที่ปลอดภัย คุ้มค่า และสมประโยชน์ ดังนั้นสิ่งที่ต้องค�ำนึงถึงมากที่สุดคือ การไม่ใช้ความรู้
ความสามารถในทางที่ผิด หากประกอบอาชีพโดยไร้จริยธรรมผลเสียหายจะตกอยู่กับสังคมและประเทศชาติ

2.	 ความสำ� คัญของจริยธรรมของผปู้ ระกอบการอาหารและโภชนาการ

       จริยธรรมมีความส�ำคัญต่อผู้ประกอบการธุรกิจอาหารและโภชนาการ เพราะเป็นธุรกิจท่ีมุ่งหวังจะ
จ�ำหน่ายสินค้าอาหารและบริการแก่ผู้บริโภค การท่ีผู้ประกอบธุรกิจอาหารและโภขนาการมีจริยธรรมจะน�ำไป
สู่เป้าหมายเพ่ือให้ผู้บริโภคได้รับอาหารท่ีปลอดภัย คุ้มค่า และสมประโยชน์

       ในสถานการณ์ปัจจุบันผู้บริโภคมีอ�ำนาจในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า และบริการโดยอาศัยข้อมูล
ตามส่ือต่าง ๆ และมีความใส่ใจในการดูแลสุขภาพมากข้ึน ในสภาวะที่มีการแข่งขันในตลาด ความต้องการ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22