Page 22 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 22

3-12 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ

            2.2.2		การผลิตสนิ คา้ และบริการได้มาตรฐานอตุ สาหกรรม โดยมีการรับรองกรรมวธิ ีการผลิต
ตามระบบท่ีแสดงถึงความปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เช่น มาตรฐานของส�ำนักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา (อย.) มาตรฐานของส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) หรือมาตรฐานระบบ
คุณภาพ (ISO) เป็นต้น

            2.2.3		การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ โดยมีการควบคุมคุณภาพและ
พัฒนาการผลิตอย่างสม่�ำเสมอ

            2.2.4		การผลิตสินค้าที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยระบุวันผลิตและวันหมดอายุ ที่ต้ัง
ผลิตภัณฑ์ไว้อย่างชัดเจน

            2.2.5 	การแสดงข้อมูลบนฉลาก และข้อความค�ำเตือนของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ตามกฎหมายท่ี
เก่ียวข้อง เช่น อาหารส�ำหรับผู้ท่ีต้องการควบคุมน�้ำหนัก ต้องระบุข้อความว่า “ใช้ส�ำหรับผู้ใหญ่เท่านั้น”
ขนมเยลล่ี ต้องระบุข้อความว่า “เด็กควรบริโภคแต่น้อย” นมข้นหวาน ต้องระบุข้อความว่า “อย่าใช้เล้ียง
ทารกอายุต�่ำกว่า 1 ปี” และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ต้องระบุข้อความว่า “ควรกินอาหารหลากหลายครบ 5 หมู่
ในสัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจ�ำ” และข้อความ “ไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค” เป็นต้น

            2.2.6		การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ โดยการไม่ต้ังช่ือและออกแบบผลิตภัณฑ์รวมท้ังบรรจุภัณฑ์
เลียนแบบผู้อื่น

            2.2.7		การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์และบริการผลิตภัณฑ์ด้านอุตสาหกรรม ต้องมีการ
ควบคุมคุณภาพท้ังระบบครบวงจร

            การประกาศใชห้ ลกั จรรยาบรรณ เมอ่ื พบวา่ มกี ารกระทำ� ทล่ี ะเมดิ หลกั จรรยาบรรณ ถา้ บคุ ลากร
ภายในองค์การเรยี นรู้วา่ จะไม่ได้รบั การลงโทษเม่อื มีการละเมดิ จรรยาบรรณ จรรยาบรรณทส่ี รา้ งขึ้นมาจะไมม่ ี
ความหมาย การก�ำหนดจรรยาบรรณเป็นสิ่งที่ง่าย แต่การที่จะคงไว้นั้นเป็นเร่ืองท่ียุ่งยาก ถ้าต้องน�ำมาใช้
ในชีวิตประจ�ำวัน

       2.3		การฝึกอบรมการปฏิบัติจริยธรรม การปลูกฝังจริยธรรมเพื่อสร้างเป็นวัฒนธรรมเป็นสิ่งท่ีต้อง
ด�ำเนินการต่อจากการสร้างจรรยาบรรณและการประกาศใช้ ซ่ึงจะต้องแสดงให้บุคลากรเห็นว่าองค์การได้
ตกลงใจที่จะปฏิบัติตามหลักจริยธรรมที่องค์การก�ำหนดอย่างแน่วแน่ วิธีการท่ีมีประสิทธิผลมากที่สุด คือ
การฝึกอบรม เพ่ือปลูกจิตส�ำนึกที่ถูกต้องให้กับบุคลากรได้ทราบถึงระบบค่านิยมที่ยึดถือปฏิบัติ

       2.4 การเลือกบุคลากรทีเ่ หมาะสมตอ่ จรยิ ธรรมองค์กร จริยธรรมส่วนหน่ึงเป็นเรื่องของพื้นฐานของ
แต่ละบุคคล ดังนั้น การเลือกบุคลากรที่มีหลักการและค่านิยมทางศีลธรรมท่ีดีจะให้หลักประกันเกี่ยวกับ
ปัญหาการละเมิดจริยธรรม เพราะการตัดสินใจทางจริยธรรมบุคลากรจะต้องมีข้อผูกพันต่อจริยธรรม เพ่ือ
ให้การแก้ไขปัญหาและท�ำในส่ิงท่ีถูกต้องในสถานการณ์ต่าง ๆ

       2.5		การตรวจสอบจรยิ ธรรม  เป็นวิธีท่ดี ีทส่ี ุดวิธีหนง่ึ ในการประเมินประสทิ ธิผลของระบบจริยธรรม
เก่ียวกับเรื่องข้อก�ำหนดต่าง ๆ ที่ระบุว่าสิ่งใดดีถูกต้อง และสิ่งใดไม่ดีไม่ถูกต้อง โดยองค์การอาจต้ังคณะ
กรรมการจริยธรรม เพ่ือท�ำการตรวจสอบติดตามผลและทบทวนความเข้าใจในทางปฏิบัติเก่ียวกับจริยธรรม
ตลอดจนการก�ำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านจริยธรรม
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27