Page 26 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 26
3-16 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
น�ำเข้า
อาหาร
ฟาร์ม รวบรวม แปรรูป ขนส่ง จัดเก็บ ปรุง จำ� หนา่ ย โฆษณา ผู้บริโภค
ภาพท่ี 3.1 ผทู้ เี่ กี่ยวข้องในห่วงโซ่อาหาร
ทีม่ า: ส�ำนักอาหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2259).
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกอบด้วยสาระส�ำคัญดังนี้
1. คำ� นิยามตามพระราชบญั ญัตอิ าหาร พ.ศ. 2522
เป็นการก�ำหนดความหมายขอบเขตของส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายอาหารก่อนที่จะกล่าวถึงสาระ
ส�ำคัญในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและโภชนาการจะต้องท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ
ค�ำนิยามตามกฎหมาย ดังนี้
1.1 “อาหาร” หมายความว่า ของกินหรือเคร่ืองค�้ำจุนชีวิต ได้แก่ วัตถุชนิดท่ีคน กิน ด่ืม อมหรือ
น�ำเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด หรือในรูปลักษณะใด แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท หรือ
ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนน้ั แลว้ แตก่ รณี และวตั ถทุ ม่ี งุ่ หมายส�ำหรบั ใช้ หรอื ใชเ้ ปน็ สว่ นผสม
ในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเคร่ืองปรุงแต่งกล่ินรส
1.2 “อาหารควบคุมเฉพาะ” หมายความว่า อาหารท่ีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็น
อาหารท่ีอยู่ในความควบคุมคุณภาพหรือมาตรฐาน
1.3 “ต�ำรับอาหาร” หมายความว่า รายการของวัตถุที่ใช้เป็นส่วนประกอบอาหารซ่ึงระบุน�้ำหนัก หรือ
ปริมาตรของแต่ละรายการ
1.4 “ภาชนะบรรจุ” หมายความว่า วัตถุท่ีใช้บรรจุอาหารไม่ว่าด้วยการใส่ หรือห่อ หรือด้วยวิธีใด ๆ
1.5 “ฉลาก” หมายความรวมถึง รูป รอยประดิษฐ์ เคร่ืองหมาย หรือข้อความใด ๆ ท่ีแสดงไว้ใน
อาหาร ภาชนะบรรจุอาหาร หรือหีบห่อของภาชนะท่ีบรรจุอาหาร
1.6 “ผลิต” หมายความว่า ท�ำ ผสม ปรุงแต่ง และหมายความรวมถึงแบ่งบรรจุด้วย
1.7 “จ�ำหน่าย” หมายความรวมถึง ขาย จ่าย แจก หรือแลกเปล่ียน ทั้งนี้เพ่ือประโยชน์ในทาง
การค้า หรือการมีไว้เพื่อจ�ำหน่าย