Page 20 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 20
3-10 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
ผู้บริหารเป็นส�ำคัญ โดยมุ่งหวังให้เยาวชนผู้ด้อยโอกาสในครอบครัวยากไร้ได้รับอาหารเช้าที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการท่ีเหมาะสมให้เยาวชนเหล่านั้นมีสุขภาพท่ีแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อให้มีความพร้อมในการ
ด�ำเนินชีวิตให้ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้
ตัวอย่างเช่น โครงการของผู้ผลิตอาหารเพื่อจ�ำหน่าย ที่มีการจัดตั้งเป็นมูลนิธิ โดยมีวัตถุประสงค์
เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ๆ เตบิ โตขนึ้ เปน็ อนาคตทแี่ ขง็ แกรง่ ของชาติ โดยใหไ้ ดร้ บั อาหารเชา้ ทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการ
ทเ่ี หมาะสม และเพอื่ ชว่ ยเหลอื เดก็ ยากไรใ้ นหลาย ๆ พน้ื ท่ี เนอ่ื งจากผปู้ กครองเดก็ ทม่ี ฐี านะยากจน เมอ่ื เดก็ ๆ
ไม่ได้รับโภชนาการท่ีเพียงพอ ก็ส่งผลให้มีภูมิคุ้มกันต่�ำ ตัวแคระแกร็น และไม่มีสมาธิในการเรียนหนังสือ
โครงการท่ีโดยเข้าไปส่งเสริมการเข้าถึงอาหารให้กับเยาวชนรอบสถานประกอบการ เพื่อน�ำขีดความ
สามารถขององค์กร ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับผิดชอบกับชุมชนให้เกิดความยั่งยืน และ “ดินน�้ำป่าคงอยู่” โดย
วางยุทธศาสตร์รักษ์นิเวศส�ำหรับป่าบก และยุทธศาสตร์ป่าชายเลน ให้ความส�ำคัญกับการใช้ทรัพยากรอย่าง
มีประสิทธิภาพควบคู่กับการอนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือให้เกิดความย่ังยืน
โครงการที่มีความมุ่งม่ันในการผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพตามความต้องการของลูกค้า โดยค�ำนึงถึง
การอนุรักษ์พลังงาน ผลกระทบต่อชุมชนและส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึนจากการด�ำเนินงานของบริษัท และยึด
หลักการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย รวมถึงส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการท�ำงานของพนักงาน ตลอดจนการดูแลสุขภาวะของบุคลากรในองค์กร โดยการสนับสนุนกิจกรรม
เพื่อพัฒนาสมดุลชีวิตของพนักงานทั้งความสุขส่วนตัวและครอบครัว น�ำไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีความสุข
ท้ังองค์กร และมีส่วนร่วมสร้างรากฐานในเร่ืองความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน
2. การจดั การดา้ นจรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบการดา้ นอาหารและโภชนาการ
การจัดการด้านจริยธรรมของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการ จะเป็นแนวทางแก่ผู้บริหาร
ในการด�ำรงไว้ซึ่งกิจการของธุรกิจ ท้ังในกรณีที่จะเผชิญกับสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีการเปล่ียนแปลง โดย
เฉพาะในช่วงที่กิจการต้องเผชิญกับการแข่งขัน เพื่อความอยู่รอดท�ำให้อาจมีการละเมิดจริยธรรม จากการที่
จะทำ� งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ไมว่ า่ จะเปน็ ในดา้ นของผลกำ� ไร การไดเ้ ปรยี บทางการแขง่ ขนั คา่ ใชจ้ า่ ย ซงึ่ เปา้ หมาย
ดังกล่าวมีผลต่อการตัดสินใจในการด�ำเนินงานของผู้บริหารจนอาจก่อให้เกิดปัญหาการละเมิดจริยธรรมข้ึน
ภายในองค์การได้ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อและพฤติกรรมอ่ืน ๆ ที่ตอบโต้การแข่งขัน การเร่งออกผลิตภัณฑ์
ใหม่จนมิได้ค�ำนึงถึงคุณภาพ มาตรฐาน การขาดความรับผิดชอบ และการปฏิบัติที่ผิดกฎหมาย ซึ่งจะมีผล
ต่อความน่าเช่ือถือของกิจการ
อย่างไรก็ตามปัญหาจริยธรรมของผู้ประกอบการเป็นส่ิงท่ีสามารถจัดการได้ โดยจ�ำเป็นต้องสร้าง
จรรยาบรรณให้เกิดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดจริยธรรมของธุรกิจ กระบวนการทางจริยธรรมนั้นมี
ขั้นตอนการจัดการต้ังแต่การก�ำหนดกรอบทางจริยธรรม การก�ำหนดจรรยาบรรณ การฝึกอบรมการปฏิบัติ
จริยธรรม การเลือกบุคลากรที่เหมาะสมต่อจริยธรรมองค์การ การตรวจสอบและการควบคุม การเผยแพร่
จริยธรรมดังน้ี