Page 19 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 19

จริยธรรมในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ 3-9

1.	 ความรบั ผิดชอบของผปู้ ระกอบการด้านอาหารและโภชนาการ

       ความรับผิดชอบแบบสมัครใจที่ไม่ได้มุ่งหวังผลตอบแทนกลับคืนของผู้ประกอบการด้านอาหารและ
โภชนาการท้ังทางด้านเศรษฐกิจ กฎหมาย จริยธรรม และความรับผิดชอบทางสังคมต้องพิจารณาถึง “ผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย” (Stakeholders) ท่ีได้รับผลกระทบจากการด�ำเนินธุรกิจ และต้องพิจารณาถึงบทบาทและ
วธิ กี ารทจี่ ะเกย่ี วขอ้ งกบั บคุ คล กลมุ่ และองคก์ ารอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งดว้ ย ซง่ึ ตอ้ งพจิ ารณาถงึ กรอบของจรยิ ธรรม
ที่มตี ่อผูท้ เี่ ก่ยี วขอ้ ง และความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ตามที่ไดก้ ลา่ วแล้วข้างต้น โดยมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
ด้านต่าง ๆ ดังน้ี

       1.1		ด้านกฎหมาย (Legal Responsibility) นอกเหนือจากการด�ำเนินการแสวงหาผลก�ำไรแล้ว
ผู้ประกอบการต้องมีความรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ส�ำหรับกรณีของผู้ประกอบการ
ดา้ นอาหารและโภชนาการ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งตลอดทง้ั หว่ งโซอ่ าหาร ตงั้ แตผ่ ปู้ ระกอบการ
ในระดับต้นน้�ำ  ได้แก่ ด้านผลิตผลทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ส�ำหรับเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
อาหาร ตลอดจนการด�ำเนินการในระดับกลางน�้ำ  ได้แก่ การผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย
สู่ผู้บริโภคท่ีอยู่ในระดับปลายน้�ำ ซึ่งจะกล่าวถึงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องในตอนต่อไป

       1.2		ด้านจริยธรรม (Ethics Responsibility) ความรับผิดชอบด้านจริยธรรมของผู้ประกอบการ
ถึงแม้อาจจะไม่สามารถพิสูจน์อย่างชัดเจนต่อผลก�ำไรของกิจการก็ตาม แต่ในระยะยาวแล้วผู้ประกอบการใด
ก็ตามท่ีไม่ได้แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนแล้ว ย่อมไม่ได้รับความ
เชื่อถือ ศรัทธาจากลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกิจการได้

       1.3		ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic Responsibility) ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรี บคุ คลไมเ่ พยี งแตจ่ ะมสี ทิ ธิ
ในการประกอบกิจการเท่านั้น การเป็นผู้ผลิตและให้บริการด้านอาหารและโภชนาการ ถ้าไม่มีผลตอบแทน
หรือก�ำไรที่คุ้มค่าแล้ว ก็ไม่สามารถด�ำเนินการต่อไปได้ ดังนั้นพื้นฐานการด�ำเนินการขึ้นอยู่กับการแสวงหา
ผลก�ำไรเท่าท่ีจะเป็นไปได้ เพ่ือสร้างหลักประกันที่ส�ำคัญแก่ผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือรักษาภาวะการแข่งขันและ
ประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน ตลาดการค้าที่มีการแข่งขันกันอย่างเสรี การด�ำเนินงานจะต้องเป็นไปตาม
กลไกของตลาด โดยที่รัฐเป็นผู้ควบคุมสาธารณูปโภค นอกจากน้ีสินค้าบางอย่างถ้าเกิดวิกฤตการณ์ที่มีผล
ต่อความม่ันคง รัฐอาจใช้วิธีก�ำหนดนโยบายควบคุมราคาสินค้า ซึ่งทางผู้ประกอบการต้องปฏิบัติตามนโยบาย
ท่ีรัฐก�ำหนด

       1.4		ดา้ นสงั คม ความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยความสมัครใจของผู้บริหารโดยตรง (Discretionary
Responsibility) ความรับผิดชอบน้ีไม่ได้บังคับไว้ตามกฎหมาย จะเห็นได้ว่า ความรับผิดชอบต่อสังคมนั้น
ผู้บริหารจะเลือกท�ำส่ิงที่ได้ผลประโยชน์หรือได้ก�ำไร แต่ต้องไม่ผิดกฎหมาย ถ้ามีความรับผิดชอบสูงขึ้นไปอีก
ก็จะเป็นความรับผิดชอบท่ีค�ำนึงถึงจริยธรรม โดยจะเห็นได้จากการท่ีผู้บริหารให้ความส�ำคัญ หรืออาจเข้าไป
มสี ว่ นรว่ มในโครงการปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน การยกระดบั มาตรฐานการดำ� รงชพี ความรบั ผดิ ชอบ
ในขั้นนี้ไม่ได้มุ่งหวังผลตอบแทนท่ีจะกลับคืนมา แต่เป็นการคืนก�ำไรสู่สังคม เช่น การจัดท�ำค่ายเยาวชน
ค่ายอาสา หรือการสร้างศูนย์การเรียนรู้เยาวชน เป็นต้น อย่างไรก็ตามผู้ประกอบการที่มิได้มีส่วนร่วม
ในกิจกรรม ท่ีมีประโยชน์ต่อสังคมก็ไม่ได้หมายความว่าขาดจริยธรรมทางธุรกิจ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับดุลพินิจของ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24