Page 42 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 42

3-32 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ

       10.2	 วัตถุประสงค์เพ่ือก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวกับอาหารให้ครอบคลุมท้ังห่วงโซ่อาหาร
อยา่ งมเี อกภาพ และประสทิ ธภิ าพในลกั ษณะบรู ณาการของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เนอ่ื งจากกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กับอาหารมีหลายฉบับ และอยู่ในอ�ำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในหลายกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ แต่มี
การปฏิบัติงานเกี่ยวกับอาหารในมิติที่แตกต่างกันในขอบเขตจ�ำกัดขาดการบูรณาการ ขาดความเป็นเอกภาพ
ในการก�ำกับดูแล

       10.3	 การด�ำเนินงานตามพระราชบัญญัติฉบับน้ี ไม่มีบทก�ำหนดโทษ เพราะเป็นการก�ำกับ
เชิงนโยบายท่ีจะแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนตลอดห่วงโซ่อาหาร โดยมีการก�ำกับดูแลท่ีเป็นระบบ เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจตรงกัน และมีนโยบายเดียวกันในการปฏิบัติงานตลอดห่วงโซ่

       10.4	 ตัวอย่างมาตรา 10 ให้คณะกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี
            (1)		เสนอนโยบายและยทุ ธศาสตรด์ า้ นคณุ ภาพอาหาร ความปลอดภยั ดา้ นอาหาร ความมนั่ คง

ดา้ นอาหาร และอาหารศกึ ษา รวมทง้ั จดั ทำ� แผนเผชญิ เหตแุ ละระบบเตอื นภยั ดา้ นอาหารตอ่ คณะรฐั มนตรี เพอื่
พิจารณาให้ความเห็นชอบและมอบหมายหน่วยงานที่เก่ียวข้องด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่

            (2)		จัดให้มี หรือส่งเสริม สนับสนุนให้มีกระบวนการในการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์
ด้านคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร ความม่ันคงด้านอาหารและอาหารศึกษา เพื่อให้เกิดการ
ด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย

            (3)	 	ให้ค�ำแนะน�ำในการออกประกาศ
            (4)		ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับ
คุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร ความมั่นคงด้านอาหาร และอาหารศึกษา
            (5)		ก�ำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและยุทธศาสตร์ตาม (1)
อำ� นวยการ แก้ไขปัญหา รวมทัง้ เสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณาปญั หาจากการปฏิบตั ิงานของส่วนราชการต่าง ๆ
ซึ่งปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎระเบียบของแต่ละหน่วยงานในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพอาหารความ
ปลอดภัยด้านอาหาร ความม่ันคงด้านอาหารและอาหารศึกษา
            (6)	ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นตามท่ีก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ี หรือกฎหมายอ่ืน หรือตามที่
นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

11. พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. 2522

       11.1	 ก�ำกับดูแลโดยส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
       11.2	 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ได้บัญญัติให้มีองค์กรของรัฐคือ ส�ำนักงาน
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอ�ำนาจหน้าที่ 7 ประการ ดังน้ี

            1)		รับเร่ืองราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย อันเนื่องมาจาก
การกระท�ำของผู้ประกอบธุรกิจ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคพิจารณาด�ำเนินการต่อไป
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47