Page 44 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 44

3-34 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ

            1)		คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจ�ำกรุงเทพมหานคร ได้รับการแต่งต้ังตามมติ
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในการประชุมครั้งท่ี 4/2551 เม่ือวันที่ 2 กรกฎคม พ.ศ. 2551 โดยมี
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานอนุกรรมการดังกล่าว และมีรองผู้อ�ำนวยการส�ำนักที่ผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครแต่งต้ัง เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ เพ่ือให้การปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคของ
กรุงเทพมหานคร เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน

            2)	 	คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค
            พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายที่มีผลบังคับใช้ท่ัวราชอาณาจักร
ปัจจุบันแต่ละจังหวัดจะมีองค์กรซ่ึงท�ำหน้าท่ีคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่

                -	 คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจ�ำจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็น
ประธานอนุกรรมการดังกล่าวและมีหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดเป็นอนุกรรมการและเลขานุการ

                -	 คณะอนุกรรมการผู้มีอ�ำนาจเปรียบเทียบความผิดที่เกิดขึ้นในจังหวัดอื่น นอกจาก
กรุงเทพมหานครโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานอนุกรรมการดังกล่าวอัยการจังหวัดกับผู้บังคับการ
ต�ำรวจภูธรจังหวัด เป็นอนุกรรมการ และข้าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งต้ัง เป็นเลขานุการ
การด�ำเนินการร้องเรียนในส่วนภูมิภาค (ต่างจังหวัด) ผู้บริโภคสามารถร้องเรียนได้ที่คณะอนุกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภคประจ�ำจังหวัด ณ ศาลากลางจังหวัด

                -	 คณะอนกุ รรมการไกลเ่ กลย่ี เรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ขจ์ ากผบู้ รโิ ภคประจำ� จงั หวดั โดยมอี ยั การ
จังหวัดประจ�ำส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน เป็นประธาน และมีผู้แทน
ส�ำนักงานจังหวัดเป็นอนุกรรมการและเลขานุการซึ่งคณะอนุกรรมการดังกล่าวฯ จะมีหน้าที่ด�ำเนินการเจรจา
ไกล่เกลี่ยเรื่องราวร้องทุกข์ให้แก่ผู้บริโภคหากคู่กรณีไม่ประสงค์และไม่ยินยอมให้ไกล่เกลี่ย ให้คณะอนุ-
กรรมการฯ รวบรวมและสอบสวนขอ้ เท็จจริง และพยานหลกั ฐานทเี่ กย่ี วข้อง พร้อมน�ำเสนอคณะอนุกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภคประจ�ำจังหวัด พิจารณาให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการคุ้มครอง
ผู้บริโภค

13.	พระราชบญั ญัติวธิ พี จิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ. 2551

       13.1	 ก�ำกับดูแลโดยส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
       13.2	 เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้เน่ืองจากระบบเศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว
มีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น ในขณะท่ีผู้บริโภคส่วนใหญ่ขาดความรู้ในเร่ืองของ
คุณภาพสินค้า หรือบริการ ขาดอ�ำนาจต่อรอง ถูกเอารัดเอาเปรียบ กระบวนการในการเรียกร้องค่าเสียหาย
ต้องใช้เวลานาน และสร้างความยุ่งยากให้กับผู้บริโภคที่ต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ท�ำให้ผู้บริโภคตกอยู่ใน
ฐานะที่เสียเปรียบ

            1)		คดีผู้บริโภคในกฎหมายฉบับน้ีหมายความว่า คดีแพ่งระหว่างผู้บริโภคหรือผู้มีอ�ำนาจฟ้อง
คดีแทนผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ ซึ่งพิพาทกันเก่ียวกับสิทธิ หรือหน้าที่ตามกฎหมายอันเน่ืองมาจาก
การบริโภคสินค้าหรือบริการ หมายถึงคดีเพ่งตามกฎมายเก่ียวกับความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดข้ึน
จากสินค้าท่ีไม่ปลอดภัย
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49