Page 47 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 47

จริยธรรมในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ 3-37

ตอนท่ี 3.3

การสร้างเสริมจริยธรรมของเครือข่ายผู้ประกอบการด้านอาหาร
และโภชนาการกับชุมชน

โปรดอา่ นแผนการสอนประจ�ำตอนท่ี 3.3 แล้วจึงศึกษาเน้อื หาสาระ พรอ้ มปฏิบตั กิ จิ กรรมในแต่ละเรือ่ ง

  หัวเร่ือง

         เร่ืองท่ี 3.3.1	 การสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการเชิงจริยธรรม
         เรื่องที่ 3.3.2	 บทบาทการสร้างเสริมจริยธรรมของภาคเี ครือขา่ ยผปู้ ระกอบการดา้ นอาหารและ

                    โภชนาการกับชุมชน

  แนวคิด

         1.	 การสรา้ งเครอื ขา่ ยของผปู้ ระกอบการดา้ นอาหารและโภชนาการกบั ชมุ ชน เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ
            ธุรกิจดา้ นอาหารและโภชนาการเตบิ โตอยา่ งย่ังยนื ภายใตก้ ารด�ำเนนิ งานท่อี ยใู่ นกรอบของ
            การมีจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเป็นการรวมตัวกันตามห่วงโซ่อุปทาน
            สินค้าเกษตรและอาหาร ต้ังแต่ต้นน้�ำจนถึงปลายน�้ำ  เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ของกลุ่มคน
            เพื่อท�ำความรู้จัก แลกเปล่ียนความคิด แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน และเช่ือมโยงกันใน
            ทศิ ทางใดทางหนง่ึ เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายของเครอื ขา่ ยตามสภาพความตอ้ งการของพนื้ ทแ่ี ตล่ ะ
            ชุมชน

         2.	 ก ารพัฒนาการสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการให้เข้มแข็ง
            พึ่งตนเองได้อย่างมั่นคง เช่ือมต่อระหว่างชุมชนเป็นเครือข่ายขยายผลเพื่อการพัฒนา
            ท่ัวท้ังประเทศ ธุรกิจเหล่านี้เป็นกลไกหลักกลไกหนึ่งในการท�ำให้เกิดคุณภาพและ
            ความปลอดภัยด้านอาหาร ปัจจุบันการใช้กลไกทางธุรกิจในการประกันคุณภาพและ
            ความปลอดภยั ดา้ นอาหารยงั ทำ� ไดจ้ ำ� กดั เนอ่ื งจากผปู้ ระกอบกจิ การดา้ นอาหารของประเทศไทย
            ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายย่อย มีความรู้และเงินทุนจ�ำกัดในการประกอบธุรกิจ

  วัตถปุ ระสงค์

         เมื่อศึกษาตอนที่ 3.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
         1.	 สามารถอธิบายการสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการเชิง

            จริยธรรมได้
         2.	 สามารถอธบิ ายบทบาทการสรา้ งเสรมิ จรยิ ธรรมของเครอื ขา่ ยของผปู้ ระกอบการดา้ นอาหาร

            และโภชนาการกับชุมชน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52