Page 52 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 52
3-42 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
3. ภาคประชาชน/ประชาคม (ชุมชน)
ภาคประชาชน/ประชาคม (ชมุ ชน) เปน็ แรงผลกั ดนั ทสี่ ำ� คญั ในการพฒั นาการสรา้ งเครอื ขา่ ยในชมุ ชน
3.1 รวมกลุ่ม ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมพัฒนาฐานข้อมูลชุมชน ก�ำหนดแนวทางและกิจกรรมการพัฒนา
ของชุมชนที่ยึดหลักการพ่ึงพาตนเองด้วยการค�ำนึงถึงศักยภาพทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและ
ส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ิน โดยน�ำข้อมูลชุมชน มาวิเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุ ค้นหาทางออก น�ำไปทดลอง
ปฏิบัติจริงบนฐานองค์ความรู้และศักยภาพของชุมชน ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเครือข่าย และจัดท�ำ
แผนชุมชนแบบมีส่วนร่วม
3.2 รเิ รมิ่ และเปน็ แกนนำ� จดั กจิ กรรมสรา้ งสรรคช์ มุ ชน โดยเฉพาะกจิ กรรมทเ่ี ชอื่ มโยงบทบาทระหวา่ ง
บ้าน สถาบันศาสนา โรงเรียน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสร้างเครือข่ายการดูแล คุ้มครอง การจัด
สวสั ดกิ ารสงั คมภายในชมุ ชน รวมถงึ การชว่ ยเหลอื ผดู้ อ้ ยโอกาสทกุ ประเภท และดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
3.3 จดั ใหม้ มี าตรการทางสงั คมในชมุ ชน ตดิ ตาม ตรวจสอบบรกิ ารตา่ ง ๆ สรา้ งธรรมาภบิ าลในชมุ ชน
และให้มีมาตรการคุ้มครองผู้ท่ีท�ำประโยชน์เพื่อชุมชน/สังคม
4. ภาคสังคม และสื่อทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ภาคสังคม ซ่ึงมีท้ังองค์กรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษา/นักวิชาการ และสถาบันศาสนา ในการ
พัฒนาการสร้างเครือข่ายของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการ ในชุมชนให้เข้มแข็ง ภายใต้กรอบ
จริยธรรม นอกจากน้ี สื่อที่เก่ียวข้องในชุมชนทุกรูปแบบ มีความส�ำคัญในการให้ความรู้ หรือสร้างค่านิยม
ท่ีดีแก่ชุมชน
4.1 ภาคสงั คม
4.1.1 องค์กรพฒั นาเอกชน
1) มีบทบาทในการจัดการองค์ความรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ชุมชน เป็นพี่เล้ียง
ที่ช่วยสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการเข้ามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และบริหารจัดการ
2) เปน็ หนว่ ยเตมิ เตม็ ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ในเรอื่ งทช่ี มุ ชนขาดแคลน ประสบปญั หาเรง่ ดว่ น
ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการดูแลและเยียวยาผู้ด้อยโอกาส เด็ก สตรี และผู้สูงอายุ
4.1.2 สถาบนั การศึกษา/นักวชิ าการ
1) ท�ำวิจัยร่วมกับชุมชนโดยชุมชนเป็นนักวิจัยหลัก ถอดรหัสความรู้ที่อยู่ในตัว
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เป็นความรู้ที่เปิดเผย รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลและที่ปรึกษาของชุมชน
2) สร้างศักยภาพชุมชนให้สามารถจัดการความรู้ในชุมชนของตัวเอง และสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ให้ชุมชน รวมทั้งต่อยอดภูมิปัญญาท้องถ่ินด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชุมชนสามารถน�ำไป
สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเกิดรายได้แก่ชุมชน
3) กระตุ้นเผยแพร่ให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารความรู้ใหม่ ๆ ท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตใน
โลกยุคใหม่ เช่น ภาษาต่างประเทศ ผลของภาวะโลกร้อนต่อระบบนิเวศและการท�ำมาหาเล้ียงชีพ ภัยไซเบอร์
ฯลฯ