Page 46 - อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
P. 46

3-36 อาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ

            3)		น�ำหลักความรับผิดโดยเคร่งครัดมาใช้ ซึ่งมีผลให้ผู้เสียหายไม่ต้องพิสูจน์ถึงความ
ไม่ปลอดภัยของสินค้าซ่ึงผู้ประกอบการทุกคน (ผู้ผลิต หรือผู้ว่าจ้างผลิต ผู้น�ำเข้า ผู้ขายสินค้าท่ีไม่สามารถ
ระบตุ วั ผผู้ ลติ ผวู้ า่ จา้ งใหผ้ ลติ หรอื ผนู้ ำ� เขา้ ได้ รวมทงั้ ผซู้ งึ่ ใชช้ อื่ ชอื่ ทางการคา้ เครอ่ื งหมายการคา้ เครอ่ื งหมาย
ข้อความหรือแสดง ด้วยวิธีใด ๆ อันมีลักษณะที่จะท�ำให้เกิดความเข้าใจได้ว่าเป็นผู้ผลิตผู้ว่าจ้างผลิต หรือ
ผู้น�ำเข้า) ต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้เสียหาย ในความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

            4)		กฎหมายน้ีได้ก�ำหนดให้เรียกค่าเสียหายเพ่ิมเติมเป็นพิเศษ ได้แก่
                -	 ค่าเสียหายแก่จิตใจ แก่สามี ภรรยา บิดา มารดา หรือผู้สืบสันดานของบุคคลน้ัน

มีสิทธิได้รับค่าเสียหายทางด้านจิตใจเพื่อชดเชยความสูญเสีย
                -	 ค่าเสียหายในเชิงลงโทษ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจได้ผลิตน�ำเข้าหรือ ขายสินค้า

ทั้งท่ีรู้ว่าสินค้าน้ันไม่ปลอดภัย หรือไม่รู้เพราะประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือเมื่อรู้ว่าสินค้าไม่ปลอดภัย
แล้วยังนิ่งเฉยไม่ด�ำเนินการใด ๆ ตามสมควรเพื่อประกันไม่ให้เกิดความเสียหาย	

       ผปู้ ระกอบการดา้ นอาหารและโภชนาการตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง
ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของจริยธรรม ส�ำหรับกรณีของผู้ประกอบการด้านอาหารและโภชนาการ ต้องปฏิบัติตาม
กฎหมายต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องตลอดทั้งห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่ผู้ประกอบการท่ีต้นน้�ำด้านผลิตผลทางการเกษตร
ปศุสัตว์ และประมง ส�ำหรับเป็นวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตอาหาร ตลอดจนการด�ำเนินการผลิตภัณฑ์อาหารท่ีมี
คุณภาพและปลอดภัยสู่ผู้บริโภค

              หลังจากศึกษาเน้อื หาสาระเรื่องที่ 3.2.2 แลว้ โปรดปฏบิ ัติกจิ กรรม 3.2.2
                      ในแนวการศึกษาหนว่ ยที่ 3 ตอนท่ี 3.2 เร่อื งที่ 3.2.2
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51