Page 22 - การวางแผน การออกแบบ และการผลิตสื่อชุมชน
P. 22
15-12 การวางแผน การออกแบบและการผลติ สอ่ื ชุมชน
เฉอื่ ยชา” (passive audience) แตท่ วา่ หากพน้ื ทส่ี าธารณะเชน่ ในศตวรรษที่ 17-18 นน้ั เปน็ อดุ มคตคิ วาม
เป็นพื้นที่สาธารณะที่ใช้งานได้อย่างแท้จริงมาก่อน เราจึงควรเดินย้อนรอยกลับไปสู่การสร้างสรรค์พ้ืนที่
สาธารณะขนึ้ มาใหม่ โดยฮาเบอรม์ าสไดเ้ สนอคณุ ลักษณะสำ� คญั ของพื้นท่สี าธารณะเอาไว้ 5 ประการด้วย
กัน (กาญจนา แก้วเทพ และสมสขุ หินวมิ าน, 2551: 376) ได้แก่
(1) เป็นพ้ืนท่ีที่มีการรวมตัวกันของกลุ่มปัจเจกชนบนพื้นฐานความสมัครใจที่เข้ามาพูดคุย
อภิปรายโต้แย้งกันด้วยเน้ือหา/ประเด็นท่ีเป็นเร่ืองของส่วนรวม และมีเป้าหมายเพ่ือผลประโยชน์ของ
สาธารณะ มใิ ชเ่ พื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
(2) เป็นพื้นที่ท่ีเป็นอิสระจากอ�ำนาจต่างๆ ในสังคม เช่น อ�ำนาจรัฐ อ�ำนาจศาสนจักร
(ในศตวรรษที่ 17) หรอื อำ� นาจเศรษฐกจิ (ในศตวรรษที่ 20)
(3) ต้องมีการไหลเวยี นของการใช้เหตุผล (rationality) อย่างเป็นอิสระ ไมม่ ใี ครมีอภสิ ทิ ธิ์
ดว้ ยเกณฑ์ต่างๆ เหนือใคร (เชน่ อภสิ ทิ ธ์จิ ากชาตกิ ำ� เนิด ยศถาบรรดาศักดิ)์
(4) สถาบนั สอื่ มวลชน เชน่ หนงั สอื พมิ พ์ วทิ ยุ โทรทศั น์ เปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ทหี่ ลอ่ เลยี้ งใหก้ าร
พดู คยุ อภปิ รายดงั กลา่ วเปน็ ไปได้ เพราะเนอื้ หาในสอื่ มวลชนเหลา่ นเ้ี ปน็ เรอื่ งราวของสาธารณะอยแู่ ลว้ และ
เปน็ ขอ้ มลู ข่าวสารสำ� หรบั การโต้เถียงอยา่ งใช้เหตุใช้ผล
(5) ผลจากการพูดคุยน้ันจะต้องก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงบางอย่าง หรือมีการลงมือ
กระทำ� การบางอย่างตอ่ เนอ่ื งตามมา
ในขณะเดยี วกนั ฮาเบอรม์ าสยงั ไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะเพอ่ื การผลติ และใชส้ อ่ื ใหบ้ รรลหุ ลกั การของพน้ื ท่ี
สาธารณะข้างต้นเอาไว้เพมิ่ เตมิ ดังนี้
• ต้องสร้างสรรค์พ้ืนท่ีสาธารณะข้ึนมาหลายๆ แบบอย่างหลากหลาย ทั้งน้ีเพื่อเป็นหลัก
ประกันว่า คนทุกกลุ่มที่มีผลประโยชน์ท่ีแตกต่างกันจะสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากพ้ืนท่ีสาธารณะ
หลายๆ แบบไดอ้ ยา่ งแท้จริง เพราะหากมพี น้ื ท่สี าธารณะอยูร่ ูปแบบเดียว คนบางกล่มุ อาจจะเข้าถงึ ไม่ได้
• พนื้ ทส่ี าธารณะตอ้ งไมถ่ กู ทำ� ใหก้ ลายเปน็ องคก์ ร/สถาบนั ทม่ี คี วามแขง็ ตวั เพราะมอี ทิ ธพิ ล
ของระบบข้ารฐั การ พ้นื ทนี่ ี้ต้องเป็นเครอื ข่ายที่มีการไหลเวยี นของขา่ วสารอย่างเต็มที่
• พน้ื ทส่ี าธารณะแหง่ นจ้ี ะเปน็ สถานทท่ี ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ การกระทำ� เชงิ การสอ่ื สาร (communica-
tive action) ที่มีเป้าหมายส�ำหรับการสร้างจิตส�ำนึกใหม่ๆ ให้กับประชาชน จนเกิดกลายเป็นทัศนคติท่ี
เชอ่ื ว่า มนษุ ยเ์ ราต่างมสี ่วนร่วมชะตากรรมเดยี วกันกบั เพ่ือนร่วมโลกคนอื่นๆ
• การทจ่ี ะใชพ้ น้ื ทสี่ าธารณะใหไ้ ดด้ สี ำ� หรบั การสรา้ งประชาธปิ ไตยนน้ั จะขน้ึ อยกู่ บั คณุ ภาพ
ของวาทกรรม/การส่ือสารท่ีอยู่ในลกั ษณะ “สภาพการณ์การสอื่ สารแบบอุดมคต”ิ (ideal speech situa-
tion) กลา่ วคอื (1) เปน็ สภาพการณท์ ผี่ สู้ อื่ สารสามารถพดู ทกุ อยา่ งออกมาไดโ้ ดยไมม่ ขี อ้ บงั คบั หรอื ขอ้ จำ� กดั
อันใดมายับยั้ง (2) เป็นสภาพการณ์ท่ีปัจเจกบุคคลทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมสนทนาได้อย่างเท่าเทียมกัน
(3) เปน็ การสอื่ สารทอ่ี ยภู่ ายในบรบิ ททางสงั คมทมี่ กี ารกระจายอำ� นาจใหค้ นทกุ กลมุ่ ทกุ ชนชนั้ ไดแ้ สดงออก
จะต้องไม่มี “ชนช้ันท่ีไมม่ ปี ากเสียง” ต้องไม่มีมาตรการกำ� ราบให้ “สงบปากสงบคำ� ” ในสงั คมนนั้ ๆ