Page 57 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 57

สถติ นิ ันพาราเมตรกิ 13-47

   ข้นั ท​ ี่ 5 คำ�นวณค​ ่าส​ ถิติท​ ดสอบ
              RR12  	  =  	  1809,1,nn1 2==910
                    	  =  	

              U1    	  =  	  (9)(10)  +  9(9 +     1)  —   89  =  46
                                           2
                                         10(10 +       1)
              U2    	  =  	  (9)(10)  +     2              —  101  =  44

              ดัง​นั้น U = 44
   ขนั้ ท​ ่ี 6 เปรียบ​เทียบ​ค่า​สถิติ​กับ​ค่า​วิกฤต
              U ที่ค​ ำ�นวณไ​ด้  มากกว่า        U  จากต​ าราง     ดัง​นั้น  ยอมรับ  H0
   ขั้นท​ ่ี  7 สรุปผ​ ล
              ผู้​เข้า​อบรมท​ ั้ง​สอง​กลุ่ม​มี​ความส​ ามารถใ​นก​ ารแ​ ก้​ปัญหา​แตก​ต่าง​กัน
สถิติ U จ4ะ.ม​7ี​ก	 การร​แณจก​ี กลแุ่มจ​ตงวั​ใกอลยา่้​เคง​มียข​ีง​กนับาดก​ ​ใาหร​แญจ่ กในแก​จรง​ปณกีท​ตี่ nิ​ จ1ึง,​แnป2ล>ง​ค2่า0Uแลใหะ้​เnป1็น,ม​nา2ตตร่าฐงา​มนีข​Zนาไดด​ใ้โ​หดญย​ใ่ ช(n้​สูต>ร20)

                                                Z  =    U  — μu

                                                           σu

   เมื่อ 	μu 	 คือ ค่า​เฉลี่ย​ของ U ซึ่ง​หาไ​ด้​จาก

   	          μu    	  =  n1n2
                           2

   	 σu 	 คือ ส่วนเ​บี่ยง​เบนม​ าตรฐาน​ของ U ซึ่ง​หาไ​ด้จ​ าก
   	
                          n1n2(n1 + n2 + 1)
   	          σu 	              12

	

การ​ตัดสิน​ใจ​และส​ รุป​ผลก​ ารท​ ดสอบ​ค่า Z ใช้ก​ ารเ​ปรียบเ​ทียบ​ค่า Z ที่​คำ�นวณไ​ด้​กับ​ค่า​วิกฤตข​ อง Z
4.8 	 ประสิทธิภาพข​ อง​การ​ทดสอบ การ​ทดสอบ U เป็นการท​ ดส​ อ​บนัน​พาราเ​มตริก​ที่​มี​คุณสมบัต​ิ
ใกล้​เคียงก​ ับ​การท​ ดสอบ​ที (t-test) ซึ่ง​นับ​เป็นการท​ ด​สอ​บนัน​พาราเ​มตริกท​ ี่ม​ ีอ​ ำ�นาจก​ าร​ทดสอบส​ ูง​มาก
       4.9 	 ตวั อยา่ ง​ผล​การว​ ิเคราะห์ข​ อ้ มลู ​ดว้ ย​โปรแกรมค​ อมพวิ เตอร์ จากข​ ้อมูล​ใน​ตัวอย่าง​ที่ 13.6 นำ�​ไป​
วิเคราะห์ด​ ้วย​โปรแกรม SPSS โดยใช้คำ�​สั่ง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62