Page 20 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 20
3-10 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
กลุ่มท่ีมีความสนใจสูงและต่�ำ แล้วสุ่มนักเรียนเหล่านี้เป็นกลุ่มด้วยวิธีการสอน A1 และ A2 ตามล�ำดับ
ดังนนั้ จะเหน็ วา่ มกี ลมุ่ ทศ่ี กึ ษา 4 กลมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งทงั้ 4 กลมุ่ จะตอ้ งมคี วามแตกตา่ งกนั มากทส่ี ดุ จงึ จะสรปุ ได้
วา่ วธิ กี ารสอนวธิ ใี ดดกี วา่ กนั การจะจำ� แนกนกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ทม่ี คี วามสนใจสงู และตำ่� ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื วดั
ทม่ี คี ณุ ภาพ ซง่ึ การออกแบบการวจิ ยั สว่ นหนง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาและเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื วจิ ยั ใหเ้ หมาะสม
ความสนใจ สูง วิธีการสอน
ต่�ำ A1 A2
กลุ่ม1: วิธีสอน A1 ความสนใจสูง กลุ่ม 2: วิธีสอน A2 ความสนใจสูง
กลุ่ม 3: วิธีสอน A1 ความสนใจต�่ำ กลุ่ม 4: วิธีสอน A2 ความสนใจต�่ำ
ภาพท่ี 3.1 ตัวอย่างการออกแบบการวิจยั เพ่อื เปรยี บเทยี บการสอน
2. มิน (min) มาจากค�ำภาษาอังกฤษว่า minimize แปลว่า ท�ำให้เล็กลง หรือท�ำให้ลดลง ในการ
ออกแบบการวิจัย ค�ำว่า “มิน” หมายถึง การท�ำให้ความแปรปรวนของความคลาดเคล่ือนลดลง ความ
แปรปรวนของความคลาดเคลื่อนเป็นความแปรปรวนเชิงสุ่ม (random error) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเป็นศูนย์ แหล่ง
ของความคลาดเคล่ือนเหล่าน้ีอาจเป็นความคลาดเคล่ือนในการวัด (measurement errors) ซึ่งอาจเกิดจาก
เครื่องมือวิจัยไม่มีคุณภาพในด้านความตรงและความเที่ยง ผู้ตอบแบบสอบถามไม่ตั้งใจตอบ มีการเดา
ความสะเพร่า ความเหน่ือยล้า หรือปัจจัยอ่ืน ๆ ของกลุ่มตัวอย่าง และสิ่งแวดล้อม นอกจากน้ียังอาจเกิดจาก
ความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง (individual differences) ที่สุ่มมาด้วย เช่น กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มมี
ความรู้ จิตใจ และภูมิหลังต่างกัน เพราะนักวิจัยอาจสุ่มตัวอย่างน้ีด้วยวิธีการท่ีไม่เหมาะสม
วิธีการลดความคลาดเคลื่อนของการวัด คือ การออกแบบการสร้างเคร่ืองมือวัดให้มีความตรง
(validity) และความเที่ยง (reliability) สูง ๆ และจัดสถานการณ์การวัดให้เหมาะสม ดังน้ัน ประเด็นการ
สร้างเคร่ืองมือวิจัยจึงเป็นประเด็นส�ำคัญในการออกแบบการวิจัย ส่วนการลดความคลาดเคล่ือนจากความ
แตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างท่ีดี คือ การใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมเพ่ือให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็น
ตัวแทน และกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มควรมีความคล้ายคลึงกันท้ังด้านความรู้ จิตใจ และภูมิหลัง
3. คอน (con) หมายถึง การควบคุม (control) ให้ความแปรปรวนของปัจจัยแทรกซ้อนให้คงที่ หรือ
การออกแบบการวิจัยท่ีท�ำให้ความแปรปรวนในตัวแปรตามที่เป็นผลมาจากตัวแปรแทรกซ้อนให้มีปริมาณ
น้อยท่ีสุด ในการวิจัยทางการศึกษา ความแตกต่างของค่าคะแนนหรือผลการวัดตัวแปรของกลุ่มตัวอย่างท่ี
นักวิจัยสนใจศึกษา แล้วความแตกต่างน้ันเกิดจากปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีไม่ใช่ปัจจัยที่เราสนใจศึกษา ถือว่าเป็นผล
จากปัจจัยแทรกซ้อนท่ีมาจากปัจจัยท่ีถือว่าเป็นตัวแปรแทรกซ้อน (extraneous หรือ confounding vari-
able) ตัวแปรแทรกซ้อนหรือปัจจัยอ่ืน ๆ จะส่งผลให้ค่าของตัวแปรตามท่ีเราวัดบิดเบือนไป ผลของตัวแปร
แทรกซ้อนจึงท�ำให้การสรุปผลการวิจัยไม่ชัดเจน จากตัวอย่างการเปรียบเทียบวิธีการสอน A1 และ A2