Page 16 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 16

6-6 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

       ต่อมาแครธโวล และคณะ (Krathwohl, Bloom, & Masia, 1964) ได้เสนอแนวคิดล�ำดับขั้น
การเกิดและพัฒนาเป็นเจตพิสัยที่จ�ำแนกระดับความรู้สึกเป็น 5 ข้ัน ดังน้ี 

            1) 	การรับรู้ (receiving) คือ การตระหนักถึงหรือมีความรู้สึกต่อการด�ำรงอยู่ของความคิด
สิ่งของหรือปรากฏการณ์ เลือกส่ิงที่สนใจท่ีจะน�ำไปสู่คุณค่าและเจตคติใหม่ของสิ่งที่เรียนรู้ และจดจ�ำ
ความรู้ใหม่ในรูปแบบของตนเอง ตัวอย่างพฤติกรรม คือ การแยกความแตกต่าง การยอมรับ การรับฟัง
(เพื่อ) การตอบค�ำถาม

            2) 	การตอบสนอง (responding) คือ ความมุ่งมั่นในความคิด สิ่งของหรือปรากฏการณ์ที่
เก่ียวข้องโดยการตอบสนองต่อส่ิงเหล่านั้นอย่างแข็งขัน พึงพอใจหรือมีความสุขในการมีส่วนร่วมกิจกรรม
ตัวอย่างพฤติกรรม คือ การช่ืนชม การปฏิบัติตาม การติดตาม การอาสาสมัคร การใช้เวลาว่างท�ำสิ่งนั้น

            3) 	การเห็นคุณค่า (valuing) คือ เต็มใจที่จะรับรู้คุณค่าของความคิด วัสดุหรือปรากฏการณ์
มุ่งม่ันและรับผิดชอบหน้าที่ต่อกิจกรรมกลุ่ม ตัวอย่างพฤติกรรม คือ การเพ่ิมความช�ำนาญ การละท้ิง การ
อุดหนุน การสนับสนุน การโต้แย้ง

            4) 	การจัดระบบ (organization) คือ เชื่อมโยงสัมพันธ์คุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ และน�ำ
มาสกู่ ารสรา้ งระบบคา่ ทสี่ อดคลอ้ งกนั ตวั อยา่ งคอื การอภปิ ราย การสรา้ งทฤษฎี การสรา้ งสมดลุ การตรวจสอบ

            5) 	การสร้างลักษณะนิสัย (characterization) คือ การแสดงออกอย่างคงที่สม่�ำเสมอตาม
คุณค่าที่ตนยึดม่ัน เป็นพฤติกรรมระยะยาว ตัวอย่างพฤติกรรม คือ การเชิดชู การหลีกเลี่ยง การต่อต้าน
การจัดการ การแก้ไข

       ขอบข่ายแต่ละระดับขั้นของเจตพิสัย และตัวอย่างกิจกรรม สรุปดังตารางที่ 6.1

           ตารางที่ 6.1 พฤตกิ รรมและขอบข่ายแต่ละระดบั ขั้นย่อยของแตล่ ะระดบั ของเจตพสิ ยั

  ระดบั เจตพิสยั  พฤติกรรม                 ขอบข่ายแต่ละระดับ  ตัวอยา่ ง
1.	 การรับรู้
	 (receiving)     ความรู้สึกต่อสิ่งเร้า    เร่ิมตระหนักรับ (awareness) นักเรียนเข้าร่วมการ
                  พฤติกรรมเป็นลักษณะ       สูงข้ึนเป็นสนใจเต็มใจรับ ประชุมอย่างไม่โต้ตอบกับ
2. การตอบสนอง     การแปลความหมาย           (willingness) และติดตาม ปรากฏการณ์หรือส่ิงเร้า
	 (responding)    เห็นความแตกต่าง          สนใจอย่างแน่วแน่ (control) จนถึงขั้นการรับรู้ผล
                  ระหว่างส่ิงเร้า          เลือกรับเฉพาะอย่างที่สนใจ ที่เหมาะกับตน

                  การเริ่มมีปฏิกิริยาตอบ เริ่มตั้งแต่ตอบสนองตามค�ำส่ัง นักเรียนมีส่วนร่วมใน
                  สนองต่อสิ่งเร้า ได้แก่ ค�ำร้องขอ (acquiescence in การประชุม เช่น แสดง
                  การตอบค�ำถาม การ responding) แล้วเต็มใจ ความสนใจใส่ใจ
                  ปฏิบัติต่าง ๆ หลังจาก มากข้ึน (willingness to ให้ความคิดเห็น
                  ที่บุคคลรับข้อมูลมากข้ึน response) ต่อมาพึงพอใจ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21