Page 66 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 66
7-56 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
กระบวนการ หรอื ประเมนิ เฉพาะผลงาน หรอื ประเมนิ ทงั้ กระบวนการและผลงานกไ็ ด้ ทงั้ นขี้ น้ึ กบั วตั ถปุ ระสงค์
การประเมินเป็นหลัก
ประเภทของการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังน้ี
1) การประเมนิ โดยใชส้ ถานการณจ์ ำ� ลอง (simulated setting) เปน็ การประเมนิ ทใี่ ช้สำ� หรับงาน
ที่อาจเป็นอันตรายต่อบุคคลท่ีปฏิบัติ หรือในสภาพจริงไม่สามารถปฏิบัติได้ หรือได้ผลใกล้เคียงกับการใช้
สถานการณ์จริงแต่สะดวกและคุ้มค่า กิจกรรมที่ใช้ประเมิน ได้แก่ การสาธิต การแสดง การทดลอง การน�ำ
เสนอด้วยการ์ตูนและละคร เป็นต้น
2) การประเมนิ โดยใชส้ ถานการณจ์ รงิ (real setting) เป็นการประเมินท่ีใช้ส�ำหรับงานท่ีไม่เป็น
อันตรายต่อบุคคลที่ปฏิบัติ การสร้างเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลงานหรือประเมินการปฏิบัติงานของ
ผเู้ รยี นตามแนวการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งสรรคง์ านนนั้ ไมส่ ามารถประเมนิ ไดด้ ว้ ยการใหค้ ะแนน (score)
แบบตอบถูกได้ 1 ผิดได้ 0 คะแนนได้ หากมีระดับของการปฏิบัติว่า ดีมาก ดี พอใช้ หรือยังต้องปรับปรุง
โดยพิจารณาตามเง่ือนไข (condition) หรือดัชนีช้ีวัด (indicator) งานนั้นตามระดับคุณภาพของงาน
ซงึ่ เกณฑก์ ารประเมนิ แบบรบู รคิ ส์ (rubrics) จำ� เปน็ จะตอ้ งมกี ารอธบิ ายประกอบอยา่ งชดั เจน เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระเมนิ
มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินงานน้ัน ๆ สามารถก�ำหนดระดับคุณภาพของงานนั้นได้อย่างมีความ
เชื่อถือได้ (reliable)
2. การประเมินผลตามสภาพจรงิ (authentic assessment)
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนปฏิบัติงานท่ีเหมือนการปฏิบัติงานในชีวิตจริง ต้องใช้วิธีการประเมินที่หลาก
หลาย เพ่ือการตรวจสอบความสามารถของผู้เรียนในการแก้ปัญหาในการท�ำงานในสถานการณ์ที่เป็นจริงหรือ
คล้ายจริงทั้งในและนอกห้องเรียน
ลกั ษณะการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้
1) ภาระงานหรอื ชนิ้ งาน (task) ตามสภาพท่ีแท้จริงต้องให้ผู้เรียนใช้ความรู้หรือทักษะต่าง ๆ
ในการผลิตผลผลิต
2) สภาพแวดลอ้ มหรอื บริบท (context) ควรจะเป็นสภาพที่เกิดข้ึนจริงหรือใกล้ความจริงให้
มากท่ีสุด โดยค�ำนึงถึงการให้เวลาในการท�ำงานชิ้นนั้น ๆ
3) เกณฑก์ ารประเมิน (evaluation criterion) กระบวนการด�ำเนินการประเมินผลตามสภาพ
จริง เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนด
3. การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio assessment)
การจัดท�ำแฟ้มสะสมงานมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนใช้เป็น
ส่วนหนึ่งของการประเมินผลในวิชานั้น ๆ เป็นข้อมูลใช้เรียนในระดับช้ันสูงข้ึนไป แสดงความส�ำเร็จของ
ผู้เรียน และเพื่อประเมินผลการสอนของผู้สอนเองด้วย