Page 38 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 38
5-28
เรอื่ งที่ 5.3.2 การสร้างแบบวัดความสามารถในการคิด
สาระสงั เขป
หลกั การสร้างแบบวัดความสามารถทางการคิด
การวัดความสามารถทางการคิดของบุคคล ผู้สร้างเคร่ืองมือจะต้องมีความรอบรู้ในแนวคิดหรือ
ทฤษฎเี กย่ี วกบั “การคดิ ” เพอ่ื นำ� มาเปน็ กรอบหรอื โครงสรา้ งของการคดิ เมอื่ มกี ารกำ� หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ของโครงสร้าง/องค์ประกอบการคิดแล้ว จะท�ำให้ได้ตัวชี้วัดหรือลักษณะพฤติกรรมเฉพาะท่ีเป็นรูปธรรม
ซ่ึงสามารถบ่งช้ีถึงโครงสร้าง/องค์ประกอบการคิดแล้ว จากนั้นจึงเขียนข้อความตามตัวชี้วัดหรือลักษณะ
พฤติกรรมเฉพาะของแต่ละองค์ประกอบของการคิดน้ัน
ขน้ั ตอนการพฒั นาแบบวดั ความสามารถทางการคดิ ในการพัฒนาแบบวัดความสามารถทางการคิด
มีขั้นตอนการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผนการสรา้ งแบบวัด ประกอบด้วย
1.1 ก�ำหนดจุดมุ่งหมายของแบบวัด แบบวัดมีจุดมุ่งหมายส�ำคัญของการสร้างแบบวัดความ
สามารถทางการคิดว่าเป็นแบบวัดความสามารถทางการคิดด้านใด เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิด
วิเคราะห์ เป็นต้น นอกจากนี้ผู้พัฒนาแบบวัดจะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการน�ำแบบวัดไปใช้ด้วยว่า
ต้องการวัดความสามารถทางการคิดท่ัว ๆ ไป หรือต้องการวัดความสามารถทางการคิดเฉพาะวิชา การวัดน้ัน
มุ่งติดตามความก้าวหน้าของความสามารถทางการคิดหรือต้องการเน้นการประเมินผลสรุปรวมส�ำหรับการ
ตัดสินใจ รวมท้ังการแปลผลการวัดเน้นการเปรียบเทียบกับมาตรฐานของกลุ่ม หรือต้องการเปรียบเทียบกับ
เกณฑ์หรือมาตรฐานท่ีก�ำหนดไว้ ส่ิงเหล่านี้จะต้องก�ำหนดไว้เป็นจุดมุ่งหมายของการวัด
1.2 ก�ำหนดกรอบของการวัดและนิยามเชิงปฏิบัติการ ผู้พัฒนาแบบวัดควรศึกษาเอกสาร
แนวคดิ ทฤษฎที เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความสามารถทางการคดิ ตามจดุ มงุ่ หมายทต่ี อ้ งการ ผพู้ ฒั นาแบบวดั ควรคดั เลอื ก
แนวคิดหรือทฤษฎีที่เหมาะสมกับบริบท และจุดมุ่งหมายท่ีต้องการเป็นหลักยึดและศึกษาให้เข้าใจอย่าง
ลกึ ซงึ้ เพอ่ื กำ� หนดโครงสรา้ ง/องคป์ ระกอบของความสามารถทางการคดิ ตามทฤษฎี และใหน้ ยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ของแต่ละองค์ประกอบในเชิงรูปธรรมของพฤติกรรมท่ีสามารถบ่งชี้ถึงลักษณะแต่ละองค์ประกอบของ
การคิดนั้นได้
ขนั้ ที่ 2 ขนั้ ดำ� เนนิ การสร้างแบบวัด ประกอบด้วย
2.1 สรา้ งผงั ขอ้ สอบ เปน็ การก�ำหนดเคา้ โครงของแบบวัดความสามารถทางการคิดทตี่ ้องการ
สร้างให้ครอบคลุมโครงสร้าง/องค์ประกอบใดบ้าง แต่ละองค์ประกอบมีจ�ำนวนข้อเท่าใด
2.2 เขยี นขอ้ สอบ ควรกำ� หนดรปู แบบของการเขยี นขอ้ สอบ ตัวค�ำถาม ตวั ค�ำตอบ และวธิ กี าร
ตรวจให้คะแนน จากนั้นจึงลงมือร่างข้อสอบตามผังข้อสอบท่ีก�ำหนดไว้จนครบทุกองค์ประกอบ หลังจากร่าง
ข้อสอบเสร็จแล้ว ควรมีการทบทวนข้อสอบถึงความเหมาะสมของการวัดและความชัดเจนของภาษาท่ีใช้