Page 58 - วิถีไทย
P. 58
3-48 วิถไี ทย
2) ค�ำในวรรณคดี คือค�ำท่ีปรากฏเฉพาะในวรรณคดีหรือจารึก ไม่พบว่าใช้ส่ือสารในชีวิต
ประจำ� วนั อยา่ งไรกด็ เี ปน็ ไปไดว้ า่ แตเ่ ดมิ คนใชค้ ำ� ในกลมุ่ นี้ เพยี งแตม่ ไิ ดต้ กทอดมาถงึ ปจั จบุ นั จนทำ� ใหค้ น
ปจั จุบันไม่ทราบความหมายของแลว้ เช่น เนา แปลวา่ “อย”ู่ เทา เต้า ตึว แปลว่า “ไป” สลาบ แปลว่า
“ปีกของนก”
3) คำ� ราชาศพั ท์ คอื คำ� ทใ่ี ชแ้ กพ่ ระเจา้ แผน่ ดนิ และเชอ้ื พระวงศ์ เชน่ เสวย ถวาย ตรสั ดำ� เนนิ
พระเขนย ฯลฯ นอกจากนี้ภาษาไทยยังรับค�ำว่า พระ และ ทรง เพ่ือสร้างค�ำสามัญให้เป็นค�ำราชาศัพท์
ด้วย เช่น พระเพลิง ทรงงาน
คำ� เขมรในภาษาไทยแมจ้ ะมผี ศู้ กึ ษาไวพ้ อควรกต็ าม แตเ่ ปน็ การศกึ ษาอยใู่ นวงวชิ าการและดเู หมอื น
วา่ บางคนทศ่ี กึ ษาเรอื่ งคำ� ยมื เขมรในภาษาไทยกล็ มื เลอื นไปจนบางคราวไมเ่ ขา้ ใจความหมายของคำ� ไปเลย
ก็มี
3. ค�ำยืมภาษาอังกฤษ
ในปัจจุบันค�ำยืมภาษาอังกฤษมีบทบาทต่อการสื่อสารภาษาไทย โดยเหตุท่ีวิถีความเป็นไทย
ปจั จบุ นั รบั เอาวฒั นธรรมและเทคโนโลยจี ากตะวนั ตกซง่ึ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มเ่ คยมใี นสงั คมมากอ่ น แมว้ า่ ภาษาองั กฤษ
เปน็ ภาษาในตระกูลอนิ โด-ยโู รเปยี น เป็นภาษาวิภัตติปัจจัย รวมถึงมีระบบเสยี งต่างจากภาษาไทยกต็ าม
แต่เมื่อภาษาไทยรับคำ� ภาษาอังกฤษมาแลว้ ก็ปรุงคำ� ศัพท์ให้มีลกั ษณะตอ้ งกับภาษาไทย
ภาษาอังกฤษเข้ามาในวิถีไทยตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยกลุ่มพ่อค้าชาวอังกฤษ ในสมัยสมเด็จ
พระเอกาทศรถ พ.ศ. 2155 แตใ่ นชว่ งตน้ ดจู ะยงั ไมพ่ บหลกั ฐานคำ� ภาษาองั กฤษมากนกั จนถงึ สมยั พระบาท
สมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั จงึ พบการเขยี นคำ� ทบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษในเอกสารตา่ งๆ พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาภาษาอังกฤษจนแตกฉาน ท�ำให้ภาษาอังกฤษแพร่เข้ามาในไทยมากย่ิง
ขนึ้ 21 คำ� ยมื ภาษาองั กฤษทรี่ บั มาใชใ้ นภาษาไทยสว่ นใหญใ่ ชว้ ธิ ที บั ศพั ท์ เชน่ สเปรย์ มาจากศพั ทว์ า่ spray
ก๊อก มาจากศัพท์ cock ค�ำยมื ภาษาอังกฤษบางคำ� ยังนำ� ไปสร้างเป็นคำ� ประสมด้วยกไ็ ด้ เช่น เคก้ มาจาก
ศัพท์ cake และน�ำมาสร้างคำ� ประสมวา่ “ขนมเค้ก” ไดด้ ้วย เมอื่ รบั คำ� ยมื ภาษาองั กฤษเข้ามาแล้วยังสรา้ ง
ศัพท์ใชท้ างการอีกค�ำ ส่วนค�ำยืมใช้เปน็ ค�ำทว่ั ไป ดงั ตัวอยา่ ง
21 อรวี บุนนาค, และเก๋ แดงสกุล. (2559). การน�ำค�ำภาษาองั กฤษมาสรา้ งเป็นค�ำซอ้ นและคำ� ซ้ำ� ในภาษาไทย. ใน วรรณ
นิทศั น์ ปที ่ี 16 เดือนพฤศจกิ ายน, น. 194.