Page 54 - วิถีไทย
P. 54
3-44 วิถไี ทย
เร่ืองที่ 3.3.2
ค�ำยืมในวิถีไทย
ค�ำยืมในวิถีและสังคมไทยสะท้อนความสัมพันธ์ทางภาษา วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์กับคน
กลมุ่ ตา่ งๆ และทำ� ใหท้ ราบทมี่ าของคำ� ภาษาไทยยมื คำ� จากภาษาอนื่ หลายภาษา อกี ทงั้ คำ� ยมื เหลา่ นป้ี รากฏ
ในภาษาไทยนบั แตอ่ ดตี หลักฐานลายลกั ษณอ์ กั ษรช้นิ แรกทเี่ ปน็ ภาษาไทยคือจารึกหลกั ท่ี 1 จารึกพ่อขุน-
รามคำ� แหงก็พบค�ำยมื แลว้ ดังนั้นการกลา่ วถึงค�ำยืมใหค้ รอบคลมุ ทั้งหมดเปน็ เร่อื งยาก รวมถงึ บางคำ� ก็ย่งิ
ยากที่จะสรุปว่ายืมมาจากภาษาใด ดังนั้นเน้ือหาในเรื่องน้ีจะกล่าวถึงค�ำยืมในภาษาไทยบางส่วน เพ่ือให้
เขา้ ใจวา่ ไทยรบั คำ� จากภาษาใดบา้ ง เมอื่ รบั มาแลว้ ใชค้ ำ� เหลา่ นน้ั อยา่ งไร อนงึ่ บางคำ� คนทว่ั ไปเขา้ ใจวา่ เปน็
ค�ำภาษาไทย แต่เม่ือศึกษาให้ลึกกลับพบว่าเป็นค�ำจากภาษาอ่ืน เนื้อหาในเรื่องน้ีจะกล่าวถึงค�ำยืมภาษา
บาลสี นั สกฤต ค�ำยืมภาษาเขมร และค�ำยืมภาษาองั กฤษ อยา่ งไรกด็ ใี นภาษาไทยยงั มีคำ� ยืมจากภาษาอืน่
ทงั้ คำ� ยมื ภาษาจนี คำ� ยมื ภาษาชวา-มลายู คำ� ยมื ภาษาทมฬิ หรอื คำ� ยมื ภาษาโปรตเุ กส หากนกั ศกึ ษาสนใจ
ศึกษาเรอื่ งค�ำยมื ภาษาอื่นๆ ควรหาหนงั สือท่กี ลา่ วถึงเรอ่ื งคำ� ยืมภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
1. ค�ำยืมภาษาบาลีสันสกฤต
ค�ำภาษาบาลีสันสกฤตเข้ามาสู่ภาษาไทยด้วยเหตุผลหลักคือเพ่ือใช้ในงานศาสนา ทั้งศาสนา
พราหมณแ์ ละศาสนาพทุ ธ ดงั จะเหน็ ไดก้ ารคน้ พบจากจารกึ ภาษาบาลี คอื จารกึ คาถา เย ธมมฺ า จารกึ นเ้ี อง
มีผู้สันนิษฐานว่าเป็นส่วนหน่ึงของร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรทวารวดี ส่วนการค้นพบ
จารกึ ภาษาสนั สกฤต ทเ่ี นอื้ ความกลา่ วสรรเสรญิ พระมหากษตั รยิ ใ์ นอาณาจกั รศรวี ชิ ยั กแ็ สดงถงึ ความสำ� คญั
ของภาษาสนั สกฤตเชน่ กนั แนน่ อนวา่ การคน้ พบจารกึ ทงั้ ภาษาบาลแี ละสนั สฤตในบรเิ วณประเทศไทยแสดง
ถึงความส�ำคัญของภาษาทั้งสองได้เป็นอย่างดีหรือกล่าวได้ว่าภาษาท้ังสองเข้ามาอยู่ในดินแดนไทยต้ังแต่
อดตี จวบจนปัจจุบัน
ความจริงแล้วค�ำภาษาบาลีกบั ค�ำภาษาสันสกฤตมีความแตกต่างกัน อกี ทง้ั เมือ่ วิเคราะห์คำ� ยมื ใน
ภาษาไทยก็สามารถแยกได้วา่ คำ� ใดเป็นค�ำยืมภาษาบาลี คำ� ใดเปน็ คำ� ยืมภาษาสันสกฤต อาทิ ภาษาไทย
ยืมค�ำว่า เขต มาจากภาษาบาลีว่า เขตตฺ และยมื คำ� ว่า เกษตร มาจากภาษาสนั สกฤตว่า เกษฺ ตฺร ท้งั สอง
ค�ำมีความหมายในภาษาเดิมว่า “นา” อย่างไรก็ดีเน้ือหาในหน่วยนี้มิได้มุ่งหวังให้วิเคราะห์เพ่ือแยกแยะ
คำ� ยมื ภาษาบาลอี อกจากภาษาสนั สกฤตได้ แตม่ งุ่ หมายใหเ้ หน็ ถงึ การรบั คำ� ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
จึงกล่าวไวร้ วมกัน
ในภาษาไทยรับคำ� ยืมมาจากทงั้ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต เช่น คำ� ว่า ชนก หมายถงึ “พอ่ ”
ทั้งภาษาบาลแี ละสันสกฤตใชว้ า่ ชนก ค�ำภาษาไทย ทันต-ทนั ต์ หมายถึง “ฟัน” กร็ ับมาจากภาษาบาลี
และสันสกฤตว่า ทนฺต กรณีดังกล่าวคงยากท่ีจะระบุว่าภาษาไทยรับค�ำดังกล่าวมาจากภาษาบาลีหรือ
สนั สกฤต ทง้ั สองใชร้ ปู ศพั ทเ์ ดยี วกนั จงึ มกั กลา่ ววา่ ภาษาไทยรบั คำ� นม้ี าจากทง้ั ภาษาบาลแี ละสนั สกฤต ใน