Page 50 - วิถีไทย
P. 50
3-40 วิถไี ทย
เร่ืองท่ี 3.3.1
แนวคิดเก่ียวกับค�ำยืม
การยมื ภาษาเป็นลกั ษณะปกตขิ องภาษาทีม่ กี ารยมื เสียง คำ� หรอื ไวยากรณจ์ ากภาษาอนื่ เม่อื ยมื
มาแลว้ กป็ รบั ใหเ้ ขา้ กบั ลกั ษณะภาษาของตน อาทิ การยมื คำ� จากภาษาอนื่ รปู ศพั ทท์ ย่ี มื มาจะออกเสยี งและ
เขยี นตามอกั ขรวธิ ภี าษาไทย การศกึ ษาเรอ่ื งคำ� ยมื ชว่ ยฉายใหเ้ หน็ ภาพความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษาไทยกบั
ภาษาทีร่ บั เขา้ มาไดท้ างหนึ่งด้วย
1. ความหมายของการยืมค�ำ
การยมื คำ� คอื การทภ่ี าษาหนง่ึ รบั คำ� จากอกี ภาษาหนง่ึ โดยปรบั ลกั ษณะใหเ้ ขา้ กบั ภาษาของตน การ
ยืมค�ำเป็นยืมภาษาท่ีง่ายและเกิดมากที่สุด ภาษายังมีการยืมลักษณะอื่นๆ อาทิ การยืมลักษณะทาง
ไวยากรณ์ ดังเชน่ การใชป้ ระโยคกรรมวาจก ฯลฯ การยมื คำ� ก็ดีหรอื การยืมภาษาก็ดีเปน็ รอ่ งรอยหลกั ฐาน
อันแสดงความสัมพันธ์ระหว่างภาษา กลุ่มคน และสังคม ในอดีตภาษาไทยรับค�ำภาษาบาลีสันสกฤตมา
จากอนิ เดยี ย่อมแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งภาษา กลมุ่ คน และสงั คมไทยกบั อนิ เดยี ความจรงิ
แล้วก่อนเร่ิมกระบวนการยืมภาษามักเริ่มด้วยกระบวนการสัมผัสภาษา โดยเกิดขึ้นจากการใช้ภาษาอ่ืน
นอกจากภาษาแมส่ ลบั กันไปมาได้ ทำ� ให้ค�ำในภาษาทีเ่ รียนรู้มาเข้าสู่ภาษาแม่ของตน
2. มูลเหตุของการยืมค�ำ
ค�ำยืมจากภาษาอ่ืนเข้าสู่วิถีไทยด้วยเหตุต่างกัน บางค�ำมาจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์ บางค�ำ
มาจากเหตุผลทางศาสนา อย่างไรก็ดีกระบวนการยืมค�ำล้วนมาจากพ้ืนฐานเดียวกันคือภาษาไม่มีค�ำท่ีสื่อ
ความหมายน้ันอยู่มูลเหตุของการยืมคำ� ท่ีสำ� คัญมดี งั น้ี
2.1 ประวัติศาสตร์ ไทยมปี ระวัตศิ าสตรท์ ีย่ าวนาน ในชว่ งระยะเวลาทางประวัติศาสตร์ลว้ นผ่าน
ความสมั พนั ธ์กับเพือ่ นบ้านท้ังกมั พูชา พม่า ลาว อินเดยี และจีน ฯลฯ ทั้งมีการอพยพย้ายถน่ิ ฐานของคน
กลุ่มต่างๆ ดังกล่าวเข้ามาในสังคมไทย ผลท่ีตามมาก็คือคนกลุ่มต่างๆ ได้น�ำถ้อยค�ำภาษาแม่ของตนเข้า
มาใช้ในวิถีไทยจนในทา้ ยทส่ี ดุ คำ� เหล่านน้ั ก็ไหลเขา้ ส่ภู าษาไทย
2.2 ศาสนา ความเชอื่ ดง้ั เดมิ ของคนไทยนบั ถอื ผี ตอ่ มาภายหลงั ไดร้ บั อทิ ธพิ ลทางศาสนาพทุ ธและ
ศาสนาพราหมณจ์ ากอนิ เดยี เมอื่ ศาสนาเขา้ สวู่ ถิ ไี ทย ผลทตี่ ามมาคอื คำ� ศพั ทท์ ใี่ ชใ้ นศาสนากต็ ดิ เขา้ มาดว้ ย
ทงั้ ภาษาบาลที ใี่ ชค้ วบคกู่ บั ศาสนาพทุ ธ และภาษาสนั สกฤตทใ่ี ชใ้ นศาสนาพราหมณ์ นอกจากนเ้ี มอื่ พจิ ารณา
ให้ลึกยังมีการรับตัวอักษรมาจากอินเดียใต้ การรับตัวอักษรมาใช้ในระยะแรกก็ใช้ในศาสนาเช่นกันคือใช้
บันทึกค�ำสอนและสืบทอดศาสนา แม้ว่าภาษาไทยรับค�ำและตัวอักษรมาแล้วแต่ในระยะต้นดูเหมือนว่าจะ
จ�ำกัดอยู่ในกลุ่มชนชั้นเจ้านายหรือผู้ปกครอง ค�ำยืมและตัวอักษรเหล่านี้กว่าจะส่งถึงประชาชนทั่วไปคง
อาศยั เวลาจึงแพร่สวู่ งกวา้ งและในท้ายทสี่ ุดกใ็ ชอ้ ยา่ งแพรห่ ลาย