Page 51 - วิถีไทย
P. 51

ภาษาในวิถีไทย 3-41
       2.3 	การค้า หลักฐานทางด้านประวตั ิศาสตรใ์ หข้ ้อมูลบง่ ช้ไี ดว้ า่ คนไทยในอดตี ตดิ ตอ่ คา้ ขาย แลก
เปลย่ี นสนิ คา้ พน้ื เมอื งกบั ชนชาตติ า่ งๆ ทงั้ จนี โปรตเุ กส ฝรง่ั เศส องั กฤษ ฮอลนั ดา ฯลฯ ปจั จบุ นั การคา้ ขาย
ระหว่างประเทศยิ่งทวีความส�ำคัญ ผลจากการติดต่อค้าขายระหว่างคนไทยกับชาวต่างชาติเป็นผลให้
ค�ำภาษาต่างประเทศของกลมุ่ ผคู้ ้าขายสภู่ าษาไทย
       2.4 	ภูมิศาสตร์ อาณาเขตของไทยติดต่อกับเพื่อนบ้านหลายประเทศท้ังกัมพูชา ลาว มาเลเซีย
พมา่ พรมแดนรอยตอ่ ระหวา่ งไทยกบั เพื่อนบา้ นมกี ล่มุ คนโยกยา้ ยข้ามไปมาหาสู่กนั ท�ำให้คนตามรอยต่อ
ต่างๆ มีสมั พันธภาพกับเพื่อนบ้านไปโดยปริยาย สง่ ผลใหค้ นกลมุ่ นบ้ี างคนพดู ไดท้ ้งั ภาษาไทยและภาษา
ของเพื่อนบา้ น ภมู ศิ าสตรข์ องไทยทต่ี ิดตอ่ กับเพ่ือนบ้านยังสง่ ให้ในอดตี มีการกวาดตอ้ นผู้คนกันไปมาดว้ ย
เหตผุ ลทางการเมือง และทำ� ใหค้ �ำจากภาษาหนงึ่ เข้าไปสภู่ าษาหนึง่
       มลู เหตขุ องการยมื คำ� เขา้ สภู่ าษาไทยยงั มอี กี หลายลกั ษณะ อาทิ ความเจรญิ ทางเทคโนโลยกี ท็ ำ� ให้
ค�ำยืมบางค�ำเข้ามาสู่สังคมไทยได้ง่าย ด่ังจะเห็นได้จากค�ำยืมภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยีและ
สื่อสารสนเทศต่างๆ ท้ังค�ำว่า แชต (chat) ไลฟ์ (live) (กด)ไลค์ (like) ในปัจจุบันค�ำยืมกลุ่มนี้เข้าสู่
วถิ ไี ทยอีกมาก แมว้ ่าบางค�ำหน่วยงานรัฐไดบ้ ัญญัติศพั ทภ์ าษาไทยใช้ก็ตาม เช่น คอมพิวเตอร์ เปน็ คำ� ยมื
ภาษาอังกฤษ computer ในภาษาไทยสร้างศัพท์บัญญัติคือ คณิตกร แต่คนไทยส่วนมากนิยมใช้ค�ำยืม
มากกวา่ ศัพทบ์ ัญญตั ิ

3. 	ลักษณะเฉพาะค�ำภาษาไทย

       ความรเู้ กยี่ วกบั ลกั ษณะเฉพาะของคำ� ภาษาไทยเออื้ ประโยชนต์ อ่ การศกึ ษาเรอื่ งคำ� ยมื อยา่ งยง่ิ เมอ่ื
ทราบลักษณะของค�ำภาษาไทยแล้วก็ช่วยตัดสินได้ว่าค�ำใดคือค�ำไทย ค�ำใดไม่ใช่ค�ำไทย เพราะเหตุว่า
คำ� ยืมมักมลี กั ษณะท่ไี มต่ อ้ งกับลกั ษณะภาษาไทย เช่น คำ� วา่ ดล และ บันดาล ในประโยคว่า คุณความดี
ทก่ี ระผมไดส้ รา้ งไว้ ขอใหด้ ลบนั ดาลประโยชนแ์ กค่ รอบครวั เมอ่ื นำ� ลกั ษณะเฉพาะของคำ� ภาษาไทยมาเปน็
เกณฑ์เบื้องต้นจะพบว่าค�ำน้ีไม่ตรงกับมาตราตัวสะกดไทย จึงน�ำไปสู่ข้อสันนิษฐานว่า ดล และ บันดาล
ไม่น่าจะใช่ค�ำไทย ประเด็นพิจารณาต่อไปคือค�ำดังกล่าวเป็นค�ำยืมจากภาษาใด ดังนั้นความรู้เก่ียวกับ
ลกั ษณะเฉพาะคำ� ภาษาไทยจงึ ใชเ้ ปน็ หลกั พจิ ารณาเบอ้ื งตน้ ในการตดั สนิ คำ� ภาษาไทยหรอื คำ� ภาษาตา่ งประเทศ
อย่างไรก็ดีแม้จะทราบลักษณะเฉพาะค�ำภาษาไทยอย่างถ่องแท้แล้วก็ตาม แต่การพิจารณาค�ำยืมภาษา
ต่างประเทศให้ถูกต้องมากที่สุด จ�ำเป็นต้องมีความรู้ต้นทางของภาษาท่ีค�ำไทยยืมมาด้วย เพื่อให้การ
พจิ ารณาคำ� ยมื ถกู ตอ้ งมากทส่ี ดุ อกี ทงั้ คำ� บางคำ� ยงั มขี อ้ ถกเถยี งและโตแ้ ยง้ กนั กนั วา่ มาจากภาษาอะไร แต่
ข้อถกเถยี งเหลา่ นี้จะนำ� มาสู่ขอ้ สรปุ ในท้ายที่สุดตอ่ ไป ลกั ษณะเฉพาะของคำ� ภาษาไทยที่ส�ำคัญมดี งั น้ี

       3.1 	มีพยางค์เดียว ค�ำไทยส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว เป็นค�ำโดด และมีความหมายสมบูรณ์ใน
ตัวเอง อาทิ พ่อ, กิน, ข้าว, ร้อน อย่างไรก็ดีค�ำไทยแท้สองพยางค์กลุ่มหน่ึงเกิดจากการประสมค�ำแล้ว
กรอ่ นเสียงพยางคห์ น้า ดงั ตัวอยา่ ง
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56