Page 53 - วิถีไทย
P. 53

ภาษาในวถิ ไี ทย 3-43
ภาษาไทยเรยี กตวั อกั ษรทไ่ี มอ่ อกเสยี งวา่ การนั ต์ คอื ท การนั ต์ การสงั เกตคำ� ภาษาไทยโดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย
ทณั ฑฆาตก็ช่วยใหจ้ ำ� แนกคำ� ไทยออกจากคำ� ยมื ภาษาอ่นื ได้

4. 	ลักษณะค�ำยืมในภาษาไทย

       การยืมภาษาหรือการรับค�ำภาษาตา่ งประเทศเข้ามาใชใ้ นภาษาไทย แบ่งไดด้ งั น้ี
       4.1 	การทับศัพท์ คอื การยมื คำ� ศพั ทจ์ ากภาษาอนื่ มาใชโ้ ดยออกเสยี งใหใ้ กลเ้ คยี งกบั ภาษาเดมิ แต่
ดว้ ยเหตขุ องระบบเสยี งแตล่ ะภาษาตา่ งกนั เมอ่ื คำ� ยมื ผา่ นเขา้ มาแลว้ ตอ้ งปรบั เสยี งใหเ้ ขา้ กบั ลกั ษณะภาษาไทย
เชน่ ค�ำยมื เทคโนโลยี มาจากคำ� ว่า technology ค�ำว่า แกส๊ กา๊ ซ มาจาก gas แนน่ อนวา่ คำ� ค่นู ้ีแมจ้ ะ
พยายามออกเสยี งใหใ้ กลก้ บั ภาษาองั กฤษเทา่ ใดกต็ าม แตก่ ม็ กี ารปรบั เสยี งใหเ้ ขา้ กบั ระบบเสยี งภาษาไทย
ในภาษาไทยยงั พบคำ� ทับศพั ท์อกี มาก ท้ังยืมจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมร และอังกฤษ
       4.2 	การบัญญัติศัพท์ คือการยืมความหมายของค�ำต่างประเทศที่ภาษาไทยไม่มีใช้ แล้วน�ำมา
สร้างค�ำข้ึนเพื่อให้ตรงกับความหมาย โดยมากการบัญญัติศัพท์จะสร้างศัพท์บัญญัติด้วยค�ำภาษาบาลี
สันสกฤต ตวั อยา่ งศพั ทบ์ ัญญตั ิ เช่น โลกาภิวตั น์ บญั ญตั ิจากภาษาอังกฤษว่า Globalization โทรศพั ท์
บญั ญตั จิ ากคำ� ภาษาองั กฤษว่า Telephone
       4.3 	การแปลศพั ท์ คอื การยมื ความหมายของคำ� จากภาษาอน่ื มา โดยแปลความหมายแบบคำ� ตอ่ คำ�  
โดยมากเปน็ การยมื ทภี่ าษาไทยไมม่ หี รอื ไมร่ จู้ กั  อาจเปน็ คำ� ทม่ี คี วามหมายในดา้ นความคดิ หรอื นามธรรม ท่ี
เจา้ ของภาษาไมเ่ คยนกึ คดิ มากอ่ น20 การแปลศพั ทจ์ ะใชว้ ธิ คี ดิ คำ� แปลเปน็ ภาษาไทยใหต้ รงกบั คำ� ทตี่ อ้ งการ
ยมื ตัวอยา่ งการแปลศัพท์ เชน่ กระดานด�ำ แปลจากศพั ทว์ ่า blackboard ชอ้ นชา แปลจากศัพทว์ ่า tea
spoon
       ค�ำยืมบางคำ� เม่ือเขา้ มาในภาษาไทยยังน�ำไปสรา้ งเป็นคำ� ประสมได้ด้วย อาทิ แกส๊ เป็น เตาแกส๊
ค�ำประสมที่เกดิ จากค�ำภาษาไทยกับค�ำยมื ภาษาอนื่ ทำ� ให้ค�ำในภาษาเพม่ิ ขึน้

กิจกรรม 3.3.1
       1. 	บอกลกั ษณะเฉพาะของคำ� ภาษาไทย
       2. 	การบญั ญัตศิ พั ท์คอื อะไร ใหอ้ ธบิ ายและยกตัวอย่างมา 3 คำ�

แนวตอบกิจกรรม 3.3.1
       1. 	ลกั ษณะเฉพาะของคำ� ไทยมดี งั น้ี 1) มพี ยางคเ์ ดยี ว เชน่ แดด พน้ื 2) เปน็ ศพั ทพ์ น้ื ฐานใชเ้ รยี ก

สิง่ ต่างๆ เช่น แขน กลว้ ย 3) เขียนตรงมาตราตัวสะกด เชน่ อา้ ย กา และ 4) ไม่ใช้เครื่องหมายทณั ฑฆาต
       2. 	การบัญญัติศัพท์คือการยืมความหมายของค�ำภาษาต่างประเทศแล้วน�ำมาสร้างค�ำขึ้นเพ่ือใช้

ใหต้ รงกับความหมายนัน้ เชน่ น้�ำผ้งึ พระจนั ทร์ มาจาก honeymoon จดุ ยนื มาจาก standpoint

         20 ปราณี กลุ ละวณิชย์ และคณะ. (2535). ภาษาทัศนา. กรุงเทพฯ: สำ� นกั พมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. น. 67.
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58