Page 55 - วิถีไทย
P. 55

ภาษาในวิถไี ทย 3-45

ขณะที่บางส่วนกร็ ับเฉพาะค�ำภาษาบาลหี รือค�ำภาษาสนั สกฤตเทา่ นนั้ ท่ีน่าแปลกใจคอื เม่ือวิเคราะหค์ ำ� ยมื
ภาษาบาลสี นั สกฤต ในภาษาไทยรับค�ำจากท้งั สองภาษามาอยา่ งมากมายไมน่ า่ เชือ่ ดงั ตัวอยา่ ง

คำ� ภาษาบาลี	 สุญญฺ
คำ� ภาษาสันสกฤต	 ศนู ยฺ

       ค�ำภาษาบาลี สญุ ญฺ ภาษาไทยรบั เขา้ มาใชว้ า่ สุญ หมายถึง “วา่ งเปลา่ ” โดยมากมักใช้ประกอบ
กับค�ำอน่ื เชน่ สญุ ญากาศ หมายถงึ ทไี่ ม่มอี ากาศ หรอื สญุ ญรปู หมายถงึ ท่ีไม่มีรปู ส่วนคำ� สันสกฤตว่า
ศูนฺญ ภาษาไทยรบั มาใช้ว่า ศูนย์ หมายถงึ 1) ว่างเปลา่ หายส้ินไป 2) จดุ กลาง ใจกลาง แหล่งกลาง เชน่
ศูนย์กลาง ความหมายของค�ำเดิมในภาษามีความแตกต่างกับภาษาไทยไปบ้าง แต่ยังคงน�ำส่วนของ
ความหมายหลักมาใช้อยู่ นอกจากนี้ค�ำยืมจากภาษาบาลีและสันสกฤตบางค�ำมีความหมายต่างกันใน
ภาษาไทย ดังตวั อย่าง

ค�ำภาษาบาล	ี อธปิ ปฺ าย
ค�ำภาษาสนั สกฤต	 อภิปฺราย

       คำ� ภาษาบาลี อธปิ ปฺ าย ในภาษาไทยใชร้ ปู ศพั ทว์ า่ อธบิ าย หมายถงึ “ไขความ ขยายความ ชแี้ จง”
คำ� น้ีในภาษาไทยใช้เป็นคำ� กริยา ส่วนค�ำว่า อภิปรฺ าย ภาษาไทยใช้ว่า อภิปราย หมายถึง “พดู ชแี้ จงแสดง
ความคิดเหน็ ” เห็นได้ว่าในภาษาไทยรับค�ำภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ในความหมายต่างกนั และทงั้ สอง
ใชแ้ ทนกนั ไม่ได้

       ค�ำภาษาบาลีสนั สกฤตบางค�ำในภาษาไทยรับมาจากภาษาใดภาษาหน่ึง ดงั ตวั อย่าง

คำ� ภาษาบาลี 	  ฌาน	 หมายถงึ 	 การเพง่ อารมณจ์ นเปน็ สมาธิ
	               มจฉฺ า	 หมายถึง	 ปลา
	               สนุ ข	 หมายถงึ 	 หมา

       ค�ำภาษาบาลีทั้งสามค�ำเม่ือภาษาไทยรับเข้ามาใช้เขียนว่า ฌาน มัจฉา และสุนัข ท่ีทราบว่า
ภาษาไทยรับมาจากภาษาบาลี เพราะในภาษาสันสกฤตค�ำที่มีความหมายเดียวกับค�ำว่า ฌาน เขียนว่า
ธฺยาน ส่วน มจฺฉา ภาษาสันสกฤตใช้ว่า มตฺสฺย ในขณะท่ีค�ำว่า สุนข ภาษาสันสกฤตใช้ว่า ศุนก ใน
ภาษาไทยไมไ่ ด้รับค�ำภาษาสันสกฤตทัง้ ธฺยาน มตสฺ ยฺ และ ศุนก เข้ามา อยา่ งไรกด็ ีบางกรณภี าษาไทยก็
รบั เฉพาะค�ำสันสกฤตเขา้ มา ดงั ตัวอย่าง

ค�ำภาษาสนั สกฤต	 สวรคฺ 	 หมายถงึ 	 โลกของเทวดา
	 สฺวสตฺ 	ิ หมายถงึ 	 ความดี ความงาม
	 ศลิ ฺป	 หมายถงึ 	 ฝมี อื
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60