Page 52 - วิถีไทย
P. 52
3-42 วถิ ีไทย
หมาก + ม่วง = หมากมว่ ง มะมว่ ง
ต้น + ไคร้ = ต้นไคร้ ตะไคร้
ตวั + ขาบ = ตัวขาบ ตะขาบ
สาย + ดอื = สายดือ สะดือ
สาว + ใภ ้ = สาวใภ ้ สะใภ้
การกรอ่ นเสยี งพยางคห์ นา้ ของคำ� สองพยางคเ์ ปน็ ลกั ษณะของคำ� ในภาษาไทยดว้ ยเชน่ กนั หากไม่
ทราบประวตั ิของค�ำอาจทำ� ให้เขา้ ใจวา่ เป็นค�ำภาษาอื่นทยี่ มื เขา้ มาในภาษาไทย
3.2 เป็นศัพท์พ้ืนฐานใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ (basic vocabulary) คือศัพท์ท่ีใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ใช้
เรยี กสิง่ ของสามัญธรรมดา ศพั ทพ์ ืน้ ฐานน่าจะเป็นคำ� เกา่ แก่ท่สี ดุ ในภาษา จ�ำแนกเปน็ กลุ่มไดด้ ังนี้
สรรพนาม เช่น กู มงึ เขา เอง็
ค�ำเรียกอวัยวะ เช่น หู ตา ปาก ตีน
พืชและส่วนของพืช เช่น หมาก สัก สม้ ป่อย กุม่
เครือ่ งมือเครืองใช ้ เช่น จอบ เสียม ข้อง ลอบ
ค�ำเรียกเครอื ญาต ิ เช่น พอ่ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย
ค�ำเรียกสี เชน่ ดำ� ขาว แดง เขยี ว
ศพั ทพ์ ื้นฐานยังมีอกี หลายกลุ่ม อาทิ คำ� แสดงกริยาอาการ เชน่ ยนื วง่ิ คำ� บอกอารมณค์ วามรูส้ ึก
เบอื่ มกั (ชอบ) ศพั ทพ์ นื้ ฐานใชเ้ รยี กสง่ิ ตา่ งๆ สามารถใชเ้ ปน็ หลกั เบอื้ งตน้ ในการพจิ ารณาคำ� ภาษาไทยหรอื
ค�ำยืมภาษาตา่ งประเทศ
3.3 เขียนตรงตามมาตราตัวสะกด ภาษาไทยมมี าตราตวั สะกด 8 มาตรา คำ� ไทยแท้ทกุ ค�ำต้อง
เขยี นตรงตามมาตราตวั สะกด อาทิ แมก่ น ตัวสะกดเขยี นด้วยอักษร <น> แม่กด ตัวสะกดเขียนดว้ ยอกั ษร
<ด> แม่กบ ตวั สะกดเขียนดว้ ยอักษร <บ> เม่ือพบคำ� ทเ่ี ขยี นด้วยตวั สะกดไมต่ รงตามมาตราให้สนั นษิ ฐาน
วา่ ไมน่ า่ เปน็ ค�ำไทย ดงั ตวั อย่าง
กล หมายถึง การลวงหรอื ลอ่ ลวงใหห้ ลง
โจษ หมายถึง พดู อึง พูดกนั เซง็ แซ่ เลา่ ลือ
ถนป หมายถงึ เด็ก เดก็ กินนม
กล สะกดดว้ ยมาตราแมก่ น แตไ่ มไ่ ด้ใชต้ วั สะกดดว้ ยอักษร <น> โจษ สะกดด้วยมาตราแมก่ ด ก็
ไม่ได้ใช้ตัวสะกดดว้ ยอกั ษร <ด> สว่ น ถนป สะกดดว้ ยมาตราแม่กบ ไม่ได้ใชต้ วั สะกดดว้ ยอกั ษร <บ> ท้งั
สามค�ำจึงไม่ใช่ค�ำไทย เม่ือเทียบกับตัวอย่างค�ำในข้อ 3.1 และ 3.2 ที่เสนอไว้พบว่าทุกค�ำล้วนสะกดตรง
มาตรา
3.4 ไม่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต คำ� ภาษาไทยแทม้ กั ไมใ่ ชเ้ ครอื่ งหมายทณั ฑฆาตกำ� กบั ตวั อกั ษร
ทไ่ี มอ่ อกเสยี ง เมอื่ รบั คำ� จากภาษาอน่ื ทม่ี หี ลายพยางคแ์ ละไมต่ อ้ งการออกเสยี งพยางคน์ นั้ จงึ ใชเ้ ครอื่ งหมาย
ทณั ฑฆาต เพ่ือฆ่าเสียงออก เช่น กานท์ ตัวอักษร <ท> มีเคร่ืองหมายทัณฑฆาตเพื่อไม่ใหอ้ อกเสียง ใน