Page 47 - วิถีไทย
P. 47

ภาษาในวถิ ีไทย 3-37
            กลุ่มวัยรุ่นมักสื่อสารด้วยค�ำสแลง เน้นท่ีความหมายมากกว่าความสมบูรณ์ทางไวยากรณ์
บางคำ� มคี วามหมายเฉพาะกลมุ่ ผสู้ อ่ื สารในวยั เดยี วกนั หรอื ในกลมุ่ เดยี วกนั จงึ จะเขา้ ใจความหมาย ลกั ษณะ
ดงั กลา่ วเปน็ การแปรตามวยั คำ� สแลงเปน็ ภาษาทเี่ ปลยี่ นแปลงรวดเรว็ สรา้ งและเลกิ ใชใ้ นเวลาไมช่ า้ ไมน่ าน
ค�ำสแลงบางคำ� ยงั ใช้คงอยใู่ นปัจจบุ ัน อาทิ ค�ำวา่ เซ็ง หมายถึง ไม่สบอารมณ์ จิบ๊ จ๊อย หมายถงึ เล็กน้อย
เนี้ยบ หมายถึงประณีตมาก ในปัจจุบันผู้ใช้ภาษาเข้าใจค�ำสแลงข้างต้นว่าเป็นค�ำท่ัวไป เน่ืองจากใช้มา
ระยะเวลาหนึ่งและยังใช้ต่อเน่ือง เมื่อค�ำสแลงใช้ต่อเน่ืองและขยายไปใช้กับคนกลุ่มอื่นๆ เพิ่มขึ้นก็ท�ำให้
ภาษาในวถิ มี ีค�ำใหเ้ ลือกใช้ที่เหมาะแก่การสื่อสาร
            2)	เพศ เป็นปัจจัยหนึ่งท่ีท�ำให้ภาษาต่างกัน ผู้พูดเพศชายมักใช้ถ้อยค�ำตรงไปตรงมา สั้น
งา่ ย มคี วามหมายตรงกบั ถอ้ ยคำ� และถอ้ ยความ ในขณะทผ่ี พู้ ดู เพศหญงิ มกั เลอื กสรรถอ้ ยคำ� หรอื กลา่ วเลย่ี ง
อีกทงั้ มกั ใช้ค�ำขยายเพื่อบอกอารมณ์ความรู้สกึ การแปรของภาษาตามเพศยงั หมายรวมถงึ ความแตกตา่ ง
ของการใชน้ ำ�้ เสยี งดว้ ย อยา่ งไรกด็ กี ารใชน้ ำ�้ เสยี งเปน็ เรอื่ งของปรภิ าษาทจ่ี ะไมก่ ลา่ วถงึ ในเรอื่ งน้ี ในภาษาไทย
ผู้ใช้ภาษาต่างเพศกันท�ำให้ภาษาเกิดความหลากหลายด้วย ส่วนหนึ่งมาจากข้อก�ำหนดทางสังคมและ
หลักภาษามีกฎเกณฑ์ว่าผู้หญิงต้องใช้ภาษาของผู้หญิงส่วนผู้ชายก็ต้องใช้ภาษาของผู้ชายจะใช้สลับกันไป
มาไม่ได้ ดังตวั อย่าง
         ผมจะออกไปธรุ ะท่ธี นาคารสักครคู่ รับ
         ดฉิ ันจะออกไปธรุ ะทธี่ นาคารสักครู่ค่ะ
            คนไทยทกุ คนทราบวา่ ในประโยคแรกทใ่ี ชส้ รรพนาม ผม และคำ� แสดงความสภุ าพ ครบั เปน็
ภาษาทีใ่ ชแ้ กผ่ ูช้ าย ส่วนในประโยคหลงั สรรพนาม ดิฉนั และ คะ่ เปน็ ภาษาท่ีใชแ้ กผ่ ้หู ญิง ทง้ั ผม-ดิฉนั
และ ครับ-ค่ะ ใช้สลบั กนั ไมไ่ ด้ ลกั ษณะน้ีเองทำ� ใหภ้ าษามกี ารแปรและหลากหลาย อย่างไรก็ดีภาษาของ
ผชู้ ายกบั ผ้หู ญงิ ดจู ะมคี วามแตกต่างในดา้ นถอ้ ยค�ำด้วย พจิ ารณาประโยคต่อไปน้ี
         กโู คตรเกลยี ดไอ้พวกโกหก
         ฉนั ละเกลี๊ยดเกลยี ดพวกชอบโกหกปล้ินปล้อนจริงๆ เลย
            มีแนวโน้มว่าผู้ชายจะเลือกใช้ประโยคแรกที่ส้ันและสื่อความหมายตรงไปตรงมามากกว่า
ประโยคหลงั ทม่ี คี ำ� ขยาย อกี ทง้ั ความหมายของประโยคยงั สอ่ื อารมณ์ ดเู หมอื นผหู้ ญงิ นา่ จะเลอื กใชป้ ระโยค
หลงั มากกวา่ ผชู้ าย
            3)	สถานภาพบุคคล ในวิถีไทยแม้ไม่แบ่งคนเป็นชนชั้นชัดเจนเหมือนระบบวรรณะของ
อินเดียก็ตาม แต่คนในสังคมก็มีสถานภาพทางสังคมต่างกันท่ีพอจะแบ่งกว้างๆ ได้เป็นกลุ่มคนช้ันสูง
คนชั้นกลาง และคนในกลุ่มท่ีเป็นฐาน สถานภาพทางสังคมเหล่านี้ส่งผลต่อรูปแบบการใช้ภาษาซึ่งท�ำให้
ภาษาเกิดการแปรไดเ้ ชน่ กนั ดงั ตวั อย่าง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52