Page 42 - วิถีไทย
P. 42
3-32 วิถีไทย
ตระกูลภาษาตา่ งๆ ในวิถีไทย
ไท ออสโตรเอเชยี ติก จีน-ทิเบต ออสโตรนเี ชยี น ม้ง-เม่ียน
ตระกลู ภาษาไทยงั มสี มาชกิ ยอ่ ยๆ อกี หลายภาษา อาทิ ภาษาไทยถนิ่ ตามภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ คำ� เมอื ง
ลาวอีสาน ปักษ์ใต้ หรือภาษาไทยถ่ินใต้ และภาษาไทยกลาง รวมถึงภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ อีก
จำ� นวนมาก เชน่ ภาษาลอ้ื ภาษายอง ภาษาญอ้ ภาษาโซง่ กะเลงิ ฯลฯ ความหลากหลายทางภาษาเหลา่ น้ี
เป็นส่วนหนึ่งที่ฉายให้เห็นภาพประวัติศาสตร์ในอดีตได้ด้วย ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ยอง หรือภาษายอง
ที่อพยพจากเมืองยอง รัฐฉานของพม่า กลุ่มผู้พูดภาษายองเข้ามาตั้งถ่ินฐานต้ังแต่สมัยอาณาจักรล้านนา
ในชว่ งสมยั พญาตโิ ลกราช ภาพประวตั ศิ าสตรน์ ชี้ ว่ ยอธบิ ายความหลากหลายทางภาษาในวถิ แี ละสงั คมไทย
ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สว่ นตระกลู ภาษาออสโตรเอเชยี ตกิ มกี ลมุ่ ภาษาทจี่ ำ� แนกยอ่ ยไดอ้ กี 22 กลมุ่ ภาษา อาทิ กยู
โซ่ ญัฮกรู ชอง มลาบรี ขมุ และเขมรถิ่นไทย ดเู หมอื นว่าจำ� นวนผพู้ ูดภาษาตระกูลนีจ้ ะอยู่รวมกลุ่มใหญ่
อยทู่ เี่ ขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคเหนอื บางสว่ น ภาษาญฮั กรู มลี กั ษณะใกลเ้ คยี งและนา่ จะสมั พนั ธ์
กบั ภาษามอญโบราณในสมยั ทวารวดี จงึ สนั นษิ ฐานวา่ กลมุ่ คนทใี่ ชภ้ าษาญฮั กรู นา่ จะสบื ทอดทางวฒั นธรรม
และวถิ ชี วี ติ มาจนปจั จบุ นั สว่ นภาษาเขมรถน่ิ ในประเทศไทยมจี ำ� นวนผใู้ ชภ้ าษานกี้ วา่ หนง่ึ ลา้ นสแ่ี สนคน ซง่ึ
เป็นกลุ่มใหญใ่ นภาคอสี านของไทย
ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วว่าจะไม่กล่าวถึงภาษาจีนของกลุ่มชาวจีนที่อพยพ
เข้ามาต้ังถ่ินฐานในเขตเมืองต่างๆ กลุ่มตระกูลภาษาน้ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตภาคเหนือของไทย อาทิ ภาษา
มเู ซอ ภาษาลีซอ ภาษาอีกอ้ กลุ่มคนท่ีพูดภาษากล่มุ น้ีมีอัตลกั ษณท์ างวิถีชีวิตและวฒั นธรรมมากพอควร
ท้ังการตัง้ ถิ่นฐานอยตู่ ามแถบทส่ี งู รวมถงึ วัฒนธรรมการแต่งกายทแ่ี สดงตวั ตนของกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ ส�ำหรับ
ตระกลู ภาษาออสโตรนีเชียนเปน็ ภาษาของคนที่มถี ิน่ ฐานอยตู่ ามเขตภาคใตแ้ ละมจี ำ� นวนมากพอควร อาทิ
ภาษามาเลยถ์ นิ่ ไทย ภาษาอรู กั ลาโว้ย ภาษาโมเก็นหรอื ชาวเล กลุ่มผ้พู ูดภาษาตระกลู นม้ี วี ิถชี วี ติ ทผ่ี กู ติด
และยึดโยงอยู่กับสายน้�ำท้ังอุปโภคและบริโภค ในปัจจุบันมีอาชีพประมงด้วย ตระกูลภาษาสุดท้ายคือ
มง้ -เมย่ี น มีทั้งภาษามง้ ขาว ม้งน�ำ้ เงิน และภาษาเมย่ี น ตระกูลภาษานี้แม้จะไมใ่ หญแ่ ละกลมุ่ ผพู้ ดู ภาษานี้
เพง่ิ อพยพเขา้ มาเมอื่ สองสามรอ้ ยปนี เี้ องกต็ าม แตว่ ถิ แี หง่ ความเชอื่ โดยเฉพาะเรอื่ งอำ� นาจเหนอื ธรรมชาติ
ท้งั ผี และฟา้ ดิน ก็เดน่ ชัดมาก
ความแตกตา่ งของภาษาในตระกลู เดียวกัน เช่น มเู ซอ ลีซอ อกี อ้ ทีแ่ มจ้ ะเป็นภาษาตระกลู จนี -
ทเิ บตกต็ าม แตผ่ พู้ ดู ภาษาทง้ั สามนส้ี อ่ื สารกนั แทบไมเ่ ขา้ ใจ อนั เนอื่ งมาจากแนวคดิ วา่ ภาษามกี ารแปรเปลย่ี น
และแนวคิดท่ีว่าเดิมภาษาเหล่านี้มีต้นก�ำเนิดมาจากแหล่งเดียวกัน เมื่อแยกและขาดการติดต่อกันท�ำให้