Page 43 - วิถีไทย
P. 43
ภาษาในวถิ ีไทย 3-33
ภาษาแตกต่างกัน แม้เป็นภาษาท่ีมีความสัมพันธ์และมีต้นก�ำเนิดเดียวกัน แต่ผู้พูดก็สื่อสารกันไม่เข้าใจ
ส�ำหรับในอาณาบริเวณประเทศไทย เป็นสังคมท่ีมีความหลากหลายทางภาษาทั้งกลุ่มท่ีตั้งรกรากถ่ินฐาน
มาเนน่ิ นานและกลมุ่ ทเี่ พงิ่ อพยพมาไมน่ าน แตก่ ส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความซบั ซอ้ นของภาษาและกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ
ในวิถไี ทย
1.2 ความหลากหลายของภาษาถิ่น ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพเป็นภาษาถ่ินหรือภาษาย่อยหน่ึงท่ี
ก�ำหนดใช้เป็นมาตรฐานและใช้เรียนใช้สอนในสถาบันการศึกษา รวมถึงใช้ติดต่อสื่อสารทางการระหว่าง
บคุ คล อยา่ งไรกด็ ี ภาษาถนิ่ ตา่ งๆ แตกตา่ งกนั ทง้ั เรอ่ื งเสยี ง ถอ้ ยคำ� และสำ� นวน ความแตกตา่ งกนั ดงั กลา่ ว
น�ำมาซงึ่ การจ�ำแนกภาษาถ่ินย่อยๆ ดงั ตัวอย่างคำ� ว่ามะละกอ
ภาษาคำ� เมอื ง บ่ากว้ ยเตด๊
ภาษาถ่นิ อีสาน บักหุ่ง
ภาษาปักษ์ใต้ ลอกอ
ภาษาถิน่ ภาคกลาง มะละกอ
ความแตกตา่ งของการใชค้ ำ� ศพั ท์ มะละกอ สะทอ้ นความหลากหลายของภาษาถน่ิ ทตี่ า่ งกนั ไปตาม
ภูมิภาค โดยท่ัวไปภาษาถ่ินจ�ำแนกเป็นภาษาไทยถ่ินเหนือ ใช้พูดจากันในแถบจังหวัดภาคเหนือ อาทิ
เชยี งใหม่ เชียงราย น่าน แพร่ ภาษาไทยถนิ่ อีสาน ใช้พูดจากันในแถบจงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาทิ ขอนแก่น อุดรธานี มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ภาษาปักษ์ใต้ ใช้พูดจาในแถบจังหวัดภาคใต้ อาทิ
นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต พังงา และภาษาไทยถิ่นกลาง ใช้พูดจาในแถบภาคกลางในหลาย
จังหวัด อาทิ ชยั นาท อุทยั ธานี นครสวรรค์
ภาษาไทยถ่ินจ�ำแนกย่อยได้อีกหลายกลุ่มคือภาษาไทยถ่ินภาคกลางแบ่งเป็นภาษาถิ่นย่อยได้ 5
กลุ่ม คือ 1) ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพรวมปริมณฑลด้วย 2) ภาษาไทยถ่ินตะวันตกในสุพรรณบุรี ราชบุรี
นครปฐม เป็นต้น 3) ภาษาไทยถ่ินตะวันออกในจังหวัดที่ติดทะเลตะวันออกของไทยคือจันทบุรี ระยอง
ชลบรุ ี และตราด 4) ภาษาไทยถิน่ โคราช ใช้ในจังหวดั นครราชสมี า และ 5) ภาษาไทยถ่ินสุโขทัย หรือ
จำ� แนกภาษาถน่ิ ใหย้ อ่ ยกวา่ นน้ั ไปอกี กไ็ ด้ โดยจำ� แนกภาษาถน่ิ ตามจงั หวดั ทใ่ี ชส้ อ่ื สารกนั อาทิ ภาษาปกั ษใ์ ต้
แบ่งเป็นภาษาปักษ์ใต้ท่ีจังหวัดสงขลา พังงา กระบ่ี ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี ตรัง ยะลา ปัตตานี
นราธวิ าส นครศรธี รรมราช ภเู กต็ และสตลู ยง่ิ จำ� แนกภาษาถนิ่ ยอ่ ยใหล้ ะเอยี ดเทา่ ใด กย็ งิ่ ทำ� ใหเ้ หน็ ลกั ษณะ
เฉพาะของภาษาแต่ละถิ่นได้มากขึน้ ดังเชน่ คำ� เรียก เม็ดมะมว่ งหิมพานต์ ภาษาปกั ษใ์ ตต้ ามจงั หวดั ต่างๆ
ใชค้ ำ� เรยี กตา่ งกนั ภาษาถนิ่ นครศรธี รรมราช เรยี กวา่ “หวั ครก” ภาษาถน่ิ ระนองเรยี ก “กาหย”ู สว่ นภาษา
ถิน่ ภเู ก็ตเรยี ก “กาหยี”
ภาษาถนิ่ ทอี่ ยตู่ า่ งกลมุ่ กนั กจ็ ะมคี วามแตกตา่ งกนั มากกวา่ ในทางกลบั กนั ภาษาถนิ่ ทอี่ ยใู่ กลช้ ดิ กนั
กย็ งิ่ มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั เชน่ ภาษาคำ� เมอื งทจี่ งั หวดั เชยี งรายยอ่ มแตกตา่ งกบั ภาษาปกั ษใ์ ตท้ จี่ งั หวดั พทั ลงุ
แตภ่ าษาคำ� เมอื งทจี่ งั หวดั ลำ� ปางยอ่ มมคี วามคลา้ ยคลงึ กบั ภาษาคำ� เมอื งทจ่ี งั หวดั นา่ น อยา่ งไรกด็ กี ารจำ� แนก
ภาษาถน่ิ เหลา่ นย้ี งั มรี ายละเอยี ดทพ่ี งึ สงั เกตไวใ้ นบางกรณภี าษาถน่ิ ทใี่ ชใ้ นบางจงั หวดั ทเ่ี ปน็ รอยตอ่ ระหวา่ ง
ภาษาถ่ินหนึ่งกับถ่ินหนึ่งอาจมีกลุ่มผู้พูดภาษาถ่ินท้ังสอง เช่น ภาษาไทยถ่ินกลางท่ีจังหวัดตาก สุโขทัย
พิษณุโลก ก็มีผู้พูดภาษาค�ำเมืองอาศัยและมีการใช้ภาษาค�ำเมืองอยู่บ้าง แม้ว่าภาษาค�ำเมืองดังกล่าวจะ