Page 44 - วิถีไทย
P. 44
3-34 วิถไี ทย
แตกตา่ งจากภาษาค�ำเมอื งทเ่ี ชยี งราย เชยี งใหม่ ลำ� ปางกต็ าม แตก่ ย็ งั ถอื วา่ เปน็ ภาษาค�ำเมอื งโดยพจิ ารณา
จากค�ำศพั ทแ์ ละระบบเสยี ง ทำ� นองเดียวกบั ท่ภี าษาไทยถ่นิ ภาคกลางทน่ี ครราชสมี าก็มีกลุม่ ผู้พดู ภาษาถนิ่
อสี านอยบู่ า้ ง ลกั ษณะดงั กลา่ วสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ แมจ้ ะมกี ารแบง่ ภาษาถน่ิ ยอ่ ยไวอ้ ยา่ งละเอยี ดแลว้ กต็ าม แต่
ภาษาถ่ินในประเทศไทยยังคงมีรายละเอียดท่ีต้องศึกษาและพิจารณาเป็นกรณีไป นอกจากน้ีการศึกษา
ภาษาถ่ินยังเก่ียวข้องและสัมพันธ์โดยตรงกับการศึกษาวิถีและวัฒนธรรมท้องถ่ินด้วย พิจารณาจากผญา
ซึง่ เป็นค�ำสอนของชาวอีสานทถ่ี ่ายทอดดว้ ยภาษาถิ่นอีสาน
ใจประสงคส์ ร้าง กลางดงกะวา่ ทง่ ใจข้ีครา้ น กลางบา้ นกะวา่ ดง
ค�ำแปล คนท่ีมีใจคดิ จะท�ำงาน แม้อยู่กลางปา่ กลางดงกเ็ หมอื นอยกู่ ลางทุ่งนา แตค่ นที่เกยี จคร้าน
แม้อยู่กลางบ้านกเ็ หมอื นกับอยูก่ ลางป่ากลางดง
ผญาของชาวอสี านสะทอ้ นใหเ้ หน็ วถิ แี ละวธิ กี ารสง่ั สอนของผใู้ หญ่ ใหร้ จู้ กั ขยนั และอตุ สาหะกบั งาน
หากเกยี จครา้ นแมจ้ ะอยใู่ นทพ่ี รง่ั พรอ้ มสดุ ทา้ ยกจ็ ะเหมอื นกบั อยใู่ นสถานทท่ี ไี่ รค้ า่ คำ� สงั่ สอนดงั กลา่ วเปน็ การ
เตือนใจให้ฉกุ คดิ และไมป่ ระมาทกับการดำ� เนนิ ชีวติ
ส�ำนวน ภาษิต ค�ำสอนของคนในท้องถิ่นล้วนสะท้อนโลกทัศน์และวิถีชีวิตท่ีแม้หลากหลายใน
ถอ้ ยคำ� และการใช้ภาษา แต่มจี ดุ มงุ่ หมายท่ีคล้ายกัน อาจกลา่ วได้ว่าความหลากหลายของสำ� นวน ภาษิต
ค�ำสอนในภาษาถิ่นต่างๆ มีเอกภาพและจุดร่วมกันท่ีล้วนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมประเภทหนึ่งที่ผ่านการ
สง่ั สมและถา่ ยทอดจากคนรุ่นหน่ึงสคู่ นรนุ่ หน่ึง
2. ความหลากหลายของการใช้ภาษา
ภาษาถิ่นกรุงเทพเป็นภาษามาตรฐานและภาษาราชการท่ีมีระเบียบแบบแผน ทั้งการสะกดค�ำ
ความหมายของถอ้ ยค�ำ และโครงสรา้ งภาษา อยา่ งไรกด็ เี มอ่ื พนิ จิ ภาษามาตรฐานในแตล่ ะองคป์ ระกอบยอ่ ย
กลับพบภาษาที่หลากหลาย ทั้งการออกเสียง เห็นได้จากคนจ�ำนวนมากออกเสียงค�ำว่า /ระบบ/ เป็น
/ละบบ/ ออกเสียงค�ำว่า /ปลา/ เป็น /ปา/ ลักษณะดังกล่าวน้ีเป็นการแปรแบบหนึ่ง เม่ือสื่อสารไม่เป็น
ทางการ ดูเหมือนว่าการออกเสียง /ละบบ/ และ /ปา/ จะเกดิ บ่อยกวา่ การแปรภาษาจงึ ท�ำให้เกิดความ
หลากหลาย อย่างไรก็ดีอาจมีผู้โต้แย้งว่าลักษณะดังกล่าวเป็นข้อผิดพลาดของการใช้ภาษาไทย หากมอง
วา่ ภาษาเปน็ เคร่ืองมือสือ่ สารทำ� ความเข้าใจระหวา่ งบคุ คลแล้ว เม่ือใชภ้ าษาแล้วทั้งสองฝ่ายเข้าใจตรงกนั ก็
ถอื วา่ ภาษาไดท้ �ำหนา้ ทไ่ี ดส้ มบรู ณแ์ ลว้ ความหลากหลายของการใชภ้ าษามหี ลายประเดน็ ขน้ึ อยกู่ บั มมุ มอง
และขอบข่ายการพจิ ารณา แต่ในเร่ืองนีจ้ ะกล่าวถึงทสี่ �ำคัญดังน้ี
2.1 การหลากคำ� คอื การใชถ้ อ้ ยคำ� ทม่ี คี วามหมายอยา่ งเดยี วกนั แตม่ รี ปู ศพั ทต์ า่ งกนั การหลากคำ�
เปน็ เครอ่ื งแสดงความรมุ่ รวยของคำ� ในภาษาไทย อกี ทง้ั ยงั เปน็ ศลิ ปะของการใชภ้ าษา การหลากคำ� เกย่ี วขอ้ ง
และสัมพันธ์กับค�ำไวพจน์ ที่ได้กล่าวไว้ในเร่ืองท่ี 3.1.1 ลักษณะภาษาในวิถีไทยอยู่บ้าง แต่ในเรื่องนี้จะ
ไม่กล่าวถึงค�ำไวพจน์แล้ว ในบางกรณีการหลากค�ำยังเป็นวิธีการเล่ียงค�ำสื่อความหมายเชิงลบหรือค�ำสื่อ
ความหมายรุนแรง พนิ จิ จากตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้