Page 56 - วิถีไทย
P. 56

3-46 วถิ ไี ทย

       ค�ำภาษาสันสกฤตท้ังสามค�ำรับเข้ามาใช้ในภาษาไทยโดยเขียนรูปศัพท์ดังน้ี สวรรค์ สวัสดี และ
ศิลปะ ท่ีทราบว่าภาษาไทยรับค�ำดังกล่าวมาจากภาษาสันสกฤตเพราะในบาลีค�ำที่มีความหมายว่า “โลก
เทวดา” ใช้ว่า สคฺค ค�ำท่ีมีความหมายว่า “ความดี ความงาม” ใช้ว่า โสตฺถิ และค�ำท่ีมีความหมายว่า
“ฝมี อื ” ใชว้ า่ สปิ ปฺ (มขี อ้ สนั นษิ ฐานวา่ ภาษาไทยนำ� คำ� ภาษาบาลี สปิ ปฺ มาใชเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของชอ่ื กรมชา่ ง
หลวงคือ ชา่ งสบิ หมู่ แตเ่ น่ืองจากคำ� น้ถี กู ใช้อยา่ งจ�ำกดั เป็นเพียงส่วนของช่อื เฉพาะ ซงึ่ ตา่ งจากคำ� วา่ ศลิ ปฺ
ทน่ี ำ� มาใชท้ ่วั ไป)

       นอกจากน้ีในภาษาไทยยังรับความหมายจากภาษาบาลีสันสกฤตแล้วน�ำมาสร้างรูปศัพท์ขึ้นโดย
ใชร้ ปู ท่ีผสมระหว่างภาษาบาลสี ันสกฤต ดงั ตวั อยา่ ง

                รูปคำ� ยืม	             บรรจถรณ์
                รูปศัพทภ์ าษาบาลี	      ปจจฺ ตถฺ รณ
                รูปศพั ทภ์ าษาสันสกฤต	  ปรฺ ตฺยาสตฺ รณ

       คำ� วา่ บรรจถรณ์ เปน็ คำ� เกา่ หมายถงึ “เครอื่ งปลู าด พรม เบาะ” แมพ้ บใชน้ อ้ ยแตม่ นี วนยิ ายไทย
เรอ่ื งหนง่ึ ใชช้ อื่ วา่ บว่ งบรรจถรณ์ ซงึ่ มเี นอ้ื เรอ่ื งเกยี่ วกบั การยอ้ นกลบั ไปอดตี ไดผ้ า่ นเตยี งนอน เมอื่ พจิ ารณา
จากรปู ศพั ท์แลว้ คำ� นนี้ ่าจะสรา้ งขึ้นโดยผสมระหว่างภาษาบาลแี ละสนั สกฤต

       ในวถิ ไี ทยยงั มคี ำ� ภาษาบาลแี ละสนั สกฤตอกี จ�ำนวนมากบางคำ� ปรากฏอยใู่ นการสอ่ื สารทใ่ี ชใ้ นชวี ติ
ประจ�ำวัน เช่น ความโลภ ความสขุ ความทุกข์ ฯลฯ การศกึ ษาเรอื่ งคำ� ยืมภาษาบาลีสนั สกฤตยงั ชว่ ยให้
เข้าใจภาษาไทยใหถ้ อ่ งแทข้ ึ้น

2. 	ค�ำยืมภาษาเขมร

       เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และสภาพภูมิศาสตร์ล้วนยืนยันความสัมพันธ์ระหว่างไทยและเขมร
ได้ดีพอควร ร่องรอยความสัมพันธ์ของทั้งสองยังตกทอดมาถึงปัจจุบันผ่านค�ำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
ในอกี ทางหนงึ่ ภาษาเขมรเองกร็ บั คำ� ภาษาไทยเขา้ ไปใชด้ ว้ ยเชน่ กนั การศกึ ษาเรอ่ื งคำ� ยมื เขมรในภาษาไทย
นอกจากทำ� ใหเ้ ขา้ ใจภาษาไทยไดด้ ขี นึ้ แลว้ ยงั เหน็ ถงึ ความสมั พนั ธก์ บั เพอื่ นบา้ น รวมถงึ เขา้ ใจประวตั ศิ าสตร์
ไดด้ ้วย

       ภาษาไทยรบั คำ� เขมรเขา้ มาใชต้ งั้ แตส่ มยั สโุ ขทยั วรรณกรรมลายลกั ษณอ์ กั ษรชนิ้ แรกคอื ศลิ าจารกึ
หลักท่ี 1 จารึกพ่อขนุ รามค�ำแหงมหาราช กป็ รากฏค�ำยมื ภาษาเขมรรว่ มกบั คำ� ยืมภาษาบาลีสันสกฤตแลว้
ดงั ตวั อยา่ ง

            1)	เม่อื ชวั่ พอ่ กู กูบำ� เรอแก่พอ่ กู กบู �ำเรอแก่แมก่ ู	 ด้านท่ี 1 บรรทัดที่ 10-11
            2)	กลางเมอื งสุโขทยั นี้ มีนำ้� ตระพังโพยสใี สกนิ ด	ี ด้านที่ 2 บรรทัดที่ 6
            3)	คนในเมืองสุโขทัยนม้ี ักทาน มักทรงศลี มกั โอยทาน	 ดา้ นท่ี 2 บรรทัดท่ี 8-9
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61