Page 93 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 93

วรรณกรรมท้องถน่ิ ภาคใต้ 10-83

เป็นส่วนหัวหรือยอดบายศรี ส่วนไหนเป็นคอหรือส่วนล่างท่ีรองลงมาจากยอดบายศรี การต�ำหนิเช่นน้ีผู้
กล่าวต�ำหนิจะรู้สึกข�ำขัน แต่ผู้ถูกต�ำหนิจะรู้สึกอับอาย บทเพลงกล่อมเด็กมีว่า (วิมล ด�ำศรี, 2539ข, น.
86)

	 	 	 ไก่ขาวเหอ	       เกาะราวไม้แชง
	 	 ขันหมากพี่เณรแดง	  ไหนหัวไหนคอ
	 	 ไหนขันหมากไหว้	    ไหนขันหมากขอ
	 	 ไหนหัวไหนคอ	       ขันหมากพี่เณรแดงเหอ

                      ภาพที่ 10.19 ขบวนแห่ขันหมากในประเพณีการแต่งงาน

ที่มา: 	ถ่ายภาพโดยชาวบ้านบ้านหนองดูน ต�ำบลเขาถ่าน อ�ำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
	 นางเนาวรัตน์ ด�ำดี เผยแพร่ให้แก่ผู้เขียน

       ครั้นเม่ือมีบุคคลล้มตายก็ต้องมีการจัดงานศพเพื่อส่งดวงวิญญาณผู้ตายไปสู่สุคติ ประเพณีอัน
เน่อื งจากการตายมีขนั้ ตอนการประกอบพิธกี รรมซบั ซ้อนกวา่ ประเพณีอน่ื ๆ อาจเน่อื งจากวา่ ผจู้ ดั งานหรือ
เจา้ ภาพไมอ่ าจตดิ ตามไปดผู ลแหง่ การจดั พธิ กี รรมวา่ เกดิ ผลสมั ฤทธท์ิ ด่ี เี พยี งใด จงึ กระทำ� ทกุ ขนั้ ตอนอยา่ ง
ดีที่สุด วรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ โดยเฉพาะวรรณกรรมลายลักษณ์จะบันทึกขั้นตอนการจัดพิธีกรรมใน
ประเพณีงานศพไว้อยา่ งละเอียด

       เชน่ ในวรรณกรรมลายลักษณ์เร่อื ง “สุบนิ ชาดกคำ� กาพย์ ฉบบั พระหลาก เอธมฺโม” พธิ ีศพพระยา
พราน ผูเ้ ป็นบดิ าเจา้ สุบนิ นางสุภาคีผู้เป็นภรรยากจ็ ดั พิธีศพใหห้ ลงั จากท่ีปลงศพด้วยเพลิงแลว้ ในเช้าวัน
รงุ่ ขนึ้ กจ็ ะเปน็ พธิ ดี บั ธาตุ เจา้ ของศพทเี่ ปน็ ญาตใิ กลช้ ดิ อาจเปน็ ลกู เมยี จะตอ้ งไปยงั สถานทเี่ ผาศพตงั้ แตเ่ ชา้
มดื เอากระดกู ทเ่ี หลอื จากไฟไหมม้ ารวมเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ ปน้ั เปน็ ตวั คนใหม้ ศี รี ษะ มมี อื มเี ทา้ โดยหนั ฝา่ ยหวั
หรือศีรษะไปทางทิศประจิมหรอื ทิศตะวันตก ลกู เมยี หรือญาติใกล้ชิดนั่งลอ้ มรอบ แลว้ ผหู้ นงึ่ ตักเหลา้ ไปจม้ิ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98