Page 90 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 90

10-80 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย

เรื่องที่ 10.3.3
ประเพณีและพิธีกรรม

       ภาพสะทอ้ นสงั คมภาคใตท้ ป่ี รากฏในวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตใ้ นประเดน็ ประเพณแี ละพธิ กี รรมนี้
จะกล่าวเฉพาะประเพณีท่ีโดดเด่นและเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปและมีปรากฏในวรรณกรรมเท่าน้ัน ส่วน
พิธีกรรมก็เป็นพิธีกรรมที่สืบเน่ืองจากประเพณี และปรากฏเป็นเน้ือหาสาระอยู่ในวรรณกรรมท้องถ่ิน
ภาคใตเ้ ชน่ เดียวกัน

       ประเพณีและพิธีกรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ จ�ำแนกได้ 2 กลุ่ม คือ ประเพณี
พธิ กี รรมในรอบปี และประเพณีพิธีกรรมในรอบชีวติ ดังน้ี

1. ประเพณีพิธีกรรมในรอบปี

       ในรอบปีหนึ่งของภาคใต้จะมปี ระเพณีส�ำคัญหลายประเพณี แต่ละประเพณนี ้ีจะมีรายละเอยี ดและ
ขนั้ ตอนการจดั พธิ กี รรมของประเพณนี นั้ แตกตา่ งกนั ออกไป ประเพณสี ำ� คญั ทคี่ นภาคใตใ้ หค้ วามสำ� คญั และ
ถอื เปน็ ประเพณใี หญท่ ต่ี อ้ งจดั คอื ประเพณสี ารทเดอื นสบิ และประเพณชี กั พระ ทง้ั สองประเพณนี ค้ี งมมี านาน
แล้วและชาวปักษใ์ ต้กส็ บื ทอดตอ่ กันมาอยา่ งเขม้ แข็ง จนกระทงั่ ปรากฏการกลา่ วถึงในวรรณกรรมท้องถ่ิน

       ประเพณสี ารทเดอื นสบิ จะมกี ารจดั สำ� รบั ซงึ่ ภาษาไทยถนิ่ ใตเ้ รยี กวา่ “หมฺ รฺ บั ” ใสส่ ง่ิ ทขี่ องจะเอาไป
ทำ� บญุ ขนมทข่ี าดเสยี มไิ ดค้ อื ขนมพองและขนมลา นอกจากนย้ี งั มขี นมเจาะหู และขนมเบย้ี ดว้ ย หมฺ รฺ บั นน้ั
จะเอาไปท�ำบญุ เพ่ืออุทิศให้บรรพบรุ ุษท่ีลว่ งลับไปแลว้ รวมท้งั บรรดาเปรตดว้ ย งานวันสารทเดือนสิบจะจดั
กนั ท่ัวไปในจงั หวัดภาคใต้ที่เป็นสังคมของชาวไทยพุทธ แตท่ ี่นครศรีธรรมราชจะจัดอย่างยงิ่ ใหญ่จนถอื ว่า
เปน็ งานบญุ ใหญ่ประจำ� ปีของจังหวดั

       เพลงกลอ่ มเด็กภาคใต้บทหนง่ึ กลา่ วถงึ การจัดหฺมฺรับไวม้ ีดงั น้ี (วิมล ดำ� ศรี, 2539ข, น. 140)

	 	 	 แม่สาวน้อยเหอ 	 ไปท�ำบุญวันสารท
	 	 ยกหฺมฺรับดับถาด	                    ไปวัดไปวา
	 	 พองลาหนมแห้ง 	                      จัดแจงเข้าต้าอีหมา
	 	 ไปวัดไปวา 	                         สาเสดเวทนาเปรตเหอ
		 (หฺมฺรับ = ส�ำรับ, พอง = ขนมพองหรือข้าวแต๋น, ลา = ขนมลา, จัดแจง =
จัดเตรียม, ต้า = สิ, อีหมา = ค�ำสรรพนามที่ใช้เรียกผู้เยาว์กว่า, เสดสา = ล�ำบากอย่างยิ่ง)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95