Page 16 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 16

6-6 การจดั การทรัพยากรสารสนเทศท้องถน่ิ
       ลกั ษณะของการวเิ คราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศใดๆ ในองคก์ ารสารสนเทศโดยทวั่ ไป เปน็ กระบวนการ

ในการด�ำเนินการกับทรัพยากรสารสนเทศท่ีมีอยู่และท่ีรวบรวมไว้ใน 2 เรื่องใหญ่ๆ คือ 1) การส�ำรวจ
พิจารณา วินิจฉยั ทรัพยากรสารสนเทศ และ 2) การกำ� หนด บันทึก และสร้างรปู แบบของรายละเอียดท่ี
สำ� คญั และจำ� เปน็ เกยี่ วกบั ทรพั ยากรสารสนเทศอยา่ งยอ่ ๆ ใหเ้ ปน็ ตวั แทนของทรพั ยากรสารสนเทศนนั้ โดย
อาจจดั ท�ำอยู่ในรูปของคำ� กลมุ่ ค�ำ/วลี สังเขปข้อความ บรรณานกุ รม ดรรชนี ฯลฯ ซ่งึ การดำ� เนินการท้งั
2 กระบวนการ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื จดั ระเบยี บและสอื่ สารใหท้ ราบเกยี่ วกบั ทรพั ยากรสารสนเทศ ทมี่ อี ยแู่ ละ
ทร่ี วบรวมไว้ เพือ่ ใหม้ ีการใช้ประโยชนต์ ่อไป

2. 	วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถ่ิน

       การวเิ คราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถนิ่ มวี ตั ถปุ ระสงคโ์ ดยรวม เพอื่ การจดั การ ควบคมุ อธบิ าย
ลกั ษณะที่จำ� เปน็ หรือจัดระเบยี บใหท้ รพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถนิ่ ทไ่ี ดร้ วบรวมไวแ้ ตล่ ะเล่ม/ช้นิ เปน็ หมวด
เปน็ หมู่ และมลี ำ� ดบั ตามความหมายอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการคน้ หาและเขา้ ถงึ และทำ� ใหก้ าร
ดูแล สงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถ่ินน้ันท�ำได้ง่าย วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ทรัพยากร
สารสนเทศในองค์การสารสนเทศโดยทั่วไป มีดังตอ่ ไปนี้

       2.1	 เพ่ือแยกแยะองค์ประกอบท่ีส�ำคัญของทรัพยากรสารสนเทศท้องถ่ิน โดยพิจารณา คัดเลือก
และระบลุ กั ษณะทางกายภาพทสี่ ำ� คญั และลกั ษณะเนอ้ื หาของทรพั ยากรสารสนเทศ เชน่ ระบชุ อื่ รบั ผดิ ชอบ
ส�ำคัญ ชื่อผแู้ ต่งร่วม ชอื่ เรือ่ งของงาน ชอ่ื ชดุ ช่อื ผู้ผลิต/เผยแพร่ ปที ี่พมิ พ/์ ผลิต หมายเลขมาตรฐานสากล
ประจำ� วสั ดุ ฯลฯ ได้ สำ� รวจและสรปุ แนวคดิ รวบยอดของเนอ้ื หาของทรพั ยากรสารสนเทศนนั้ และระบเุ ปน็
ชอื่ คำ� กลมุ่ คำ� ทส่ี ำ� คญั ได้ ทงั้ น้ี เพอื่ กำ� หนดรปู แบบการบนั ทกึ แตล่ ะหวั ขอ้ ตามแบบแผนตอ่ ไป เชน่ ชอื่ ผแู้ ตง่
หรือเน้ือหาที่เกี่ยวกับชื่อบุคคลชาวไทยที่มียศหรือฐานันดรศักดิ์ ใช้รูปแบบชื่อ เป็น “ช่ือต้น ชื่อกลาง
(ถา้ ม)ี ชอื่ สกลุ , ยศหรอื ฐานนั ดรศกั ด,์ิ ปเี กดิ -ปตี าย” เชน่ “คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, พล ต. ม.ร.ว., 2454-2538”
เปน็ ต้น

       2.2	เพื่อสามารถบ่งชี้หรือระบุให้ได้ว่าทรัพยากรสารสนเทศชื่อเรื่อง/เล่ม/ชิ้น ที่ท�ำการวิเคราะห์
นน้ั เหมอื นหรือแตกตา่ งจากทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ ที่มีความใกลเ้ คยี งกนั อยา่ งไร อันเปน็ ผลจากการ
พจิ ารณาแยกแยะรายละเอยี ดดา้ นตา่ งๆ และระบขุ อ้ มลู เฉพาะตวั ของทรพั ยากรสารสนเทศทว่ี เิ คราะห์ เชน่
ระบฉุ บบั ครงั้ ทพี่ มิ พ์ เวอรช์ นั หรอื รนุ่ ของเนอื้ หา เชน่ เวอรช์ นั ของภาษา รปู แบบหรอื ธรรมชาตกิ ารนำ� เสนอ
เน้ือหา (เป็นต�ำรา เป็นงานวิจัย เป็นบทความ เป็นสารานุกรม ฯลฯ) ระดับเน้ือหาท่ีเหมาะสมกับผู้อ่าน
ตา่ งกลุ่ม เป็นต้น

       2.3	เพ่ือสามารถจัดทรัพยากรสารสนเทศแต่ละเล่ม/ช้ินเข้ากลุ่มได้ถูกต้อง ทรัพยากรสารสนเทศ
ทกุ เลม่ /ชนิ้ ตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาและตดั สนิ วา่ จะจดั เขา้ อยใู่ นกลมุ่ ทรพั ยากรสารสนเทศกลมุ่ ใด ตามหลกั การ
ของการจัดกลุ่มท่ีองค์การสารสนเทศได้ก�ำหนด เช่น ตามกลุ่มเน้ือหาความรู้ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบ
หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ตามกลุ่มพ้ืนที่ภูมิศาสตร์ที่ก�ำหนด ตามประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ ตาม
ลำ� ดบั ทเ่ี ขา้ มาในองคก์ ารสารสนเทศ ตามแหลง่ ทมี่ าของเอกสาร เปน็ ตน้ และเมอื่ จดั กลมุ่ ไดแ้ ลว้ ตอ้ งกำ� หนด
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21