Page 17 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 17

การวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศทอ้ งถ่นิ 6-7
ทอี่ ยขู่ องทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะเลม่ /ชน้ิ นนั้ วา่ อยใู่ นล�ำดบั หรอื ต�ำแหนง่ ใด เปน็ การใหข้ อ้ มลู ต�ำแหนง่ ท่ี
อยเู่ พอ่ื ใหส้ ะดวกในการเขา้ ถึงทรัพยากรสารสนเทศ นนั้ ได้

       2.4	เพอื่ ผลติ บญั ชรี ายชอ่ื ของทรพั ยากรสารสนเทศทม่ี แี บบแผน เชน่ ทำ� ใหอ้ ยใู่ นรปู เครอื่ งมอื ชว่ ย
ค้นท่ีได้มาตรฐาน เคร่ืองมือเหล่าน้ี เช่น บรรณานุกรม ดรรชนี แค็ตตาล็อก เป็นต้น เคร่ืองมือช่วยค้น
เอกสารจดหมายเหตุ ทะเบยี นของพพิ ธิ ภณั ฑ์ และนามานกุ รมเวบ็ บญั ชเี หลา่ นม้ี คี วามสำ� คญั ตอ่ การคน้ หา
และเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ โดยเฉพาะท่ีเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่จับต้องได้ ย่อมต้องให้ข้อมูล
ตำ� แหน่งท่อี ยู่ของทรพั ยากรสารสนเทศนน้ั เพือ่ ความสะดวกและประหยดั เวลาในการเข้าถึง

3. 	ขอบเขตของการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น

       ในการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถ่ิน มีขอบเขตด้านต่างๆ ท่ีต้องพิจารณาหรือค�ำนึงถึง
ดงั ต่อไปน้ี

       3.1	 ด้านประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่น�ำมาวิเคราะห์และจัดการ ประเภทของทรพั ยากร
สารสนเทศท้องถิ่นที่น�ำมาวิเคราะห์ มีขอบเขตครอบคลุมทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นส่ือหรือวัสดุที่บันทึก
องค์ความรู้ของชมุ ชนท้องถิ่น ที่มีการบันทกึ ลายลักษณ์ไวใ้ นรูปแบบตา่ งๆ เพื่อถา่ ยทอดและเผยแพร่ ซ่ึง
ปรากฏอยู่ในรปู สื่อส่ิงพมิ พ์ ส่ือโสตทัศน์ และสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ ไม่นับรวมสาระ เรือ่ งราว เหตกุ ารณ์ทไี่ มม่ ี
การบนั ทึกเปน็ ลายลักษณ์เพือ่ เผยแพร่ เช่น ประเพณี พิธกี รรม ส่ือบคุ คล เป็นต้น เนอ่ื งจากไม่มบี ริบทท่ี
แน่นอน

       3.2	 ด้านประเภทขององค์การ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีการด�ำเนินงานการวิเคราะห์ทรัพยากร
สารสนเทศทอ้ งถนิ่ การจดั เกบ็ และจดั ใหบ้ รกิ ารทรพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถนิ่ มไิ ดม้ กี ารดำ� เนนิ การอยเู่ ฉพาะ
ในสภาพแวดล้อมของห้องสมุดเท่านั้น เน่ืองจากลักษณะของการเกิดสารสนเทศหรือต้นแหล่งสารสนเทศ
ทอ้ งถน่ิ มลี กั ษณะกระจดั กระจาย มคี วามหลากหลายในดา้ นรปู ลกั ษณข์ องสอ่ื ทบ่ี นั ทกึ สารสนเทศและวธิ กี าร
นำ� เสนอ/เผยแพร่ ทำ� ใหม้ กี ารจดั การทรพั ยากรสารสนเทศในสภาพแวดลอ้ มอนื่ ๆ ทไี่ มใ่ ชห่ อ้ งสมดุ ดว้ ย อาทิ
จัดการในลักษณะเปน็ ศนู ย์ข้อมลู พพิ ธิ ภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ ห้องสมดุ ดจิ ิทัล

       3.3	 ดา้ นแนวคดิ และกจิ กรรมหรอื การจดั การทปี่ ฏบิ ตั ใิ นการวเิ คราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถน่ิ
การจดั การทรพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถน่ิ มหี ลกั การพนื้ ฐานไมแ่ ตกตา่ งจากการจดั การทรพั ยากรสารสนเทศ
ในห้องสมุดโดยท่ัวไป แม้แต่การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถ่ินท่ีเป็นสารสนเทศในรูปดิจิทัลใน
สภาพแวดล้อมของห้องสมุดดิจิทัล ซ่ึงแม้จะมีลักษณะเป็นห้องสมุดเสมือน แต่ก็ยังมีแนวคิดในความเป็น
หอ้ งสมุดและมกี ารด�ำเนนิ กิจกรรมไมต่ า่ งจากห้องสมดุ ทม่ี ีลกั ษณะทางกายภาพดังในอดีต กลา่ วคือ มกี าร
จัดหา จดั เก็บ และใหบ้ รกิ ารตวั ทรพั ยากรสารสนเทศ มีการสร้างและใหบ้ ริการเคร่อื งมอื ช่วยคน้ ทรพั ยากร
สารสนเทศดังกล่าวแก่ผู้ใช้บริการ ซึ่งในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้ความส�ำคัญกับการใช้มาตรฐาน
ไม่ว่าจะเป็นการจัดท�ำเคร่ืองมือช่วยค้น การเข้ารหัส การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ และการให้บริการ
และเผยแพร่สารสนเทศด้วยคอมพวิ เตอร์และเครอื ขา่ ย
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22