Page 23 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 23

การวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถ่ิน 6-13
จะเลือกใช้ช่ือเร่ืองใด (ถ้าช่ือเรื่องที่ปรากฏในตัวทรัพยากรสารสนเทศมีหลายแห่งและไม่ตรงกัน) มีข้อมูล
ผู้เขียน/ผู้รับผิดชอบส�ำคัญ ชื่อผู้เขียนจะมีรูปแบบอย่างไร มีข้อมูลการจัดพิมพ์/เผยแพร่ ท่ีสถาบันใด
พมิ พเ์ มอ่ื ใด มขี อ้ มลู หมายเลขประจำ� ตวั ทรพั ยากรสารสนเทศคอื อะไร เปน็ ตน้ ซง่ึ การเลอื กวา่ มขี อ้ มลู ตวั แทน
ลักษณะอะไรบ้าง และข้อมูลแต่ละลักษณะนั้นจะมีรูปแบบอย่างไร ต้องพิจารณาและก�ำหนดอย่างมี
หลกั เกณฑ์ โดยทวั่ ไป มกั ใชต้ ามหลกั เกณฑก์ ารลงรายการทางบรรณานกุ รมทเี่ ปน็ มาตรฐานสากล เชน่ ใช้
หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์คร้ังที่ 2 แก้ไขเพ่ิมเติม หรือเอเอซีอาร์ทูอาร์
(Anglo-American Cataloging Rules 2nd ed. Revision: AACR2R) หรอื มาตรฐานอาร์ดีเอ

            4.3.2	 ข้อมูลตัวแทนเนื้อหา เป็นขอ้ มูลแทนแนวคิดรวบยอดหรอื ข้อมูลสรุปของเน้อื หาของ
ทรัพยากรสารสนเทศ ไดจ้ ากการวิเคราะหเ์ นอ้ื หาสาระส�ำคญั ของทรัพยากรสารสนเทศวา่ ประกอบไปด้วย
เรอ่ื งใดบา้ ง แตล่ ะเรอื่ งมอี ะไรเปน็ แนวคดิ หลกั แลว้ กำ� หนดขอ้ มลู ตวั แทนเนอ้ื หาสาระนนั้ อยา่ งมหี ลกั เกณฑ์
ใน 3 ลักษณะ คอื

                1)	 ขอ้ มลู ตัวแทนเนื้อหาในรปู รหสั หมวดหมู่ (classification code) เปน็ ข้อมูลแทน
สาระส�ำคญั ของทรพั ยากรสารสนเทศหรือเอกสารนั้น เพ่ือเป็นขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั เก็บ หรือเพื่อระบแุ หล่ง
ที่อยู่ของทรัพยากรสารสนเทศดังกล่าว การพิจารณาและก�ำหนดข้อมูลตัวแทนน้ีอย่างมีหลักเกณฑ์ โดย
ทว่ั ไป มกั ใชต้ ามระบบการจดั หมคู่ วามรทู้ น่ี ยิ มใชใ้ นองคก์ ารสารสนเทศโดยทวั่ ไป อาทิ ระบบหอสมดุ รฐั สภา
อเมริกนั ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบทศนยิ มสากล

                2)	 ขอ้ มลู ตวั แทนเนอ้ื หาในรปู คำ� /วลี แทนสาระจากการยอ่ ความ/สรปุ สาระสำ� คญั ของ
ทรัพยากรสารสนเทศให้เหลือเป็นค�ำท่ีส่ือความ หมายถึงสาระส�ำคัญของเนื้อหา ค�ำแทนสาระมีหลาย
ประเภท เชน่ หัวเร่อื ง คำ� สำ� คญั และค�ำศัพทส์ มั พนั ธ์ การไดม้ าซง่ึ คำ� แทนสาระนี้มกั ได้จากบญั ชคี ำ� ศพั ท์
ควบคมุ ทม่ี กี ารจดั ท�ำไว้อย่างมีหลกั เกณฑ์ เชน่ บัญชหี ัวเร่ือง (subject heading lists) คลงั ศัพท์สัมพันธ์
หรอื ธีซอรัส (thesaurus) ทงั้ เป็นบัญชีค�ำศัพท์ควบคมุ ท่วั ไป และเฉพาะสาขาวชิ า เป็นตน้

                3)	 ข้อมูลตัวแทนเนื้อหาในรูปบทย่อความ/สังเขปความ จากการย่อความ/สรุปสาระ
สำ� คญั ของทรพั ยากรสารสนเทศใหไ้ ดใ้ จความสำ� คญั โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชต้ ดั สนิ ใจไดว้ า่ เอกสารนน้ั ๆ
ตรงกบั ความตอ้ งการหรอื ไม่ รปู แบบของบทยอ่ ความ อาทิ สาระสงั เขปหรอื บทคดั ยอ่ เรอื่ งยอ่ บรรณนทิ ศั น์

5.	 ข้ันตอนในการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น

       การวเิ คราะห์สารสนเทศโดยทว่ั ไปประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดงั ตอ่ ไปนี้
       5.1	 พิจารณาประเภทของทรัพยากรสารสนเทศและลักษณะการเผยแพร่หรือน�ำเสนอเร่ืองของ
ทรพั ยากรสารสนเทศทน่ี ำ� มาวเิ คราะห์ พจิ ารณาประเภทของวสั ดสุ ารสนเทศเพอื่ ใหส้ ามารถเลอื กขอ้ มลู จาก
แหล่งข้อมูลหลักของวัสดุสารสนเทศได้ถูกต้อง และสามารถเลือกใช้หลักเกณฑ์การเลือกและลงรายการ
ทางบรรณานกุ รมไดถ้ กู ตอ้ งตามเงอ่ื นไขของวสั ดสุ ารสนเทศประเภทนนั้ ๆ และพจิ ารณาลกั ษณะการเผยแพร่
หรือน�ำเสนอเร่ืองของทรัพยากรสารสนเทศ เพ่ือให้ทราบลักษณะการน�ำเสนอเร่ืองหรือความสัมพันธ์กับ
ทรัพยากรสารสนเทศอ่นื เช่น เป็นหนงั สือเล่มเดีย่ วหรอื สองสามเลม่ จบ เปน็ หนังสือในชดุ เป็นฉบบั หนงึ่
ในสื่อต่อเนื่อง หรือเป็นบทความในวารสาร ทั้งน้ีเพื่อให้สามารถเลือกประเภทของตัวแทนสารสนเทศและ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28