Page 18 - ระบบธุรกิจอัจฉริยะ
P. 18

14-6 ระบบธรุ กิจอจั ฉริยะ

เร่ืองที่ 14.1.1
ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับระบบธุรกิจอัจฉริยะกับสื่อสังคม

       ธุรกิจอัจฉริยะกับสื่อสังคมเป็นการน�ำข้อมูลท้ังในอดีตและปัจจุบันจากส่ือสังคมมาใช้เป็นพื้นฐาน
ส�ำหรับการน�ำไปประเมินสถานการณ์ขององค์กร และวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจท้ังในเชิงกว้างและเชิงลึก
ทชี่ ว่ ยใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถนำ� ขอ้ มลู ผลจากการวเิ คราะหท์ ไี่ ดจ้ ากระบบมาใชเ้ พอื่ ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน
ขององคก์ รและประยกุ ตใ์ ชใ้ นองคก์ รเพอื่ สง่ เสรมิ กระบวนการตดั สนิ ใจใหแ้ มน่ ยำ� มากขน้ึ โดยความรเู้ บอ้ื งตน้
เกยี่ วกบั ระบบธรุ กจิ อจั ฉรยิ ะกบั สอ่ื สงั คมทสี่ ำ� คญั ซงึ่ จะกลา่ วถงึ ในเรอื่ งนี้ ไดแ้ ก่ ความหมายและประเภทของ
สื่อสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบธุรกิจอัจฉริยะกับสื่อสังคม ภาพรวมกระบวนการวิเคราะห์ธุรกิจ
อัจฉริยะกับสื่อสังคม ประเภทการวิเคราะห์ธุรกิจอัจฉริยะกับสื่อสังคม และประโยชน์และข้อจ�ำกัดของ
การวเิ คราะห์ธุรกิจอจั ฉริยะกบั สอื่ สังคม

1. 	ความหมายและประเภทของสื่อสังคม

       สอื่ สังคมหรอื โซเชยี ลมีเดยี (social media) (วฤษาย์ รม่ สายหยุด, 2561) หมายถงึ สื่อสังคมท่ีมี
การตอบสนองทางสังคมได้หลายทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลท่ัวไป
สามารถปฏสิ มั พนั ธโ์ ตต้ อบกนั ได้ มสี ว่ นรว่ มสรา้ งขอ้ มลู หรอื เนอ้ื หาขน้ึ เอง (user-generated content) ใน
รูปของข้อมลู ภาพ เสียง และแลกเปลยี่ นความคิดเห็นต่างๆ ผ่านอินเทอรเ์ น็ตได้

       ประเภทของส่ือสงั คมสามารถแบง่ ได้ 8 ประเภท (โอภาส เอ่ยี มสริ วิ งศ,์ 2556) ตามลกั ษณะของ
การน�ำมาใช้ รายละเอยี ดมีดังน้ี

       1.1	 เว็บบล็อก (weblogs) เป็นส่ือสังคมส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตท่ีใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้ ขอ้ คดิ เหน็ บนั ทกึ สว่ นตวั โดยสามารถแบง่ ปนั ใหบ้ คุ คลอนื่ ๆ ผรู้ บั สารสามารถเขา้ ไปอา่ นหรอื แสดง
ความคิดเห็นเพ่ิมเติมได้ ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกน้ันจะเรียงล�ำดับจากเนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า
ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเนื้อหาย้อนหลังเพ่ืออ่านและแก้ไขเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เช่น เว็บบล็อก
แนะนำ� ทก่ี ินและรวี ิวรา้ นอร่อย เว็บบลอ็ กเรยี นภาษาองั กฤษออนไลน์ เป็นตน้

       1.2	 เครือข่ายทางสังคม (social networking) เปน็ เครอื ขา่ ยทางสงั คมในอนิ เทอรเ์ นต็ ทใี่ ชส้ ำ� หรบั
เชอ่ื มต่อระหว่างบุคคล กลมุ่ บุคคล เพอ่ื ให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (social community) รว่ มกันแลกเปลยี่ น
และแบง่ ปนั ขอ้ มลู ระหวา่ งกนั ทง้ั ดา้ นธรุ กจิ การเมอื ง และการศกึ ษา เชน่ เฟซบกุ๊ (Facebook) สแนปแชต
(Snapchat) ทวิตเตอร์ (Twitter) ลงิ กตอ์ ิน (LinkedIn) ไลน์ (Line) วอตส์แอป (WhatsApp) หรอื
อินสตาแกรม (Instagram) เปน็ ตน้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23