Page 45 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 45
สุนทรียศาสตรข์ องภาพยนตร์ 1-35
(ก) (ข)
(ค)
ภาพที่ 1.7 ตัวอย่างภาพแสดงถึงโครงสร้างของการเล่าเรื่องโดยการตัดต่อในยุคแรก
ภาพยนตร์เร่ือง Rescued by Rover
ที่มา: The Cinema Book. (2004).
ความเปลยี่ นแปลงทางดา้ นพนื้ ทแี่ ละเวลาดงั กลา่ ว สง่ ผลใหเ้ กดิ รปู แบบใหมข่ องการเลา่ เรอ่ื งทเี่ นน้
การน�ำภาพท่ีมีฉากหรือสถานที่ใกล้เคียงกันมาจัดล�ำดับให้มีการเคลื่อนไหวต่อเนื่องกัน (contiguity)
จนสามารถเลา่ เรอื่ งราวเปน็ ฉากหรอื ตอน (sequentiality) ใหญๆ่ ตอนหนง่ึ ได้ ยกตวั อยา่ งเชน่ ภาพยนตร์
เรอื่ ง Rescued by Rover (Cecil Hepworth, 1905) ท่ีสรา้ งเรือ่ งราวทม่ี ีความต่อเนื่องและเปน็ เหตเุ ปน็
ผลโดยการตดั ตอ่ ภาพ (shot) แตล่ ะภาพเขา้ ดว้ ยกนั จนกลายเปน็ ตอน (sequence) ทเี่ ลา่ เรอ่ื งของสนุ ขั ชอื่
โรเวอรท์ ีต่ ามหาเดก็ ทารกที่ถกู โจรลกั พาตัวไป แลว้ พาบิดาของเด็กไปสทู่ ซ่ี ่อนของโจรได้ ในฉากท่ีโรเวอร์
วงิ่ นำ� บดิ าของเดก็ ไปหาทซ่ี อ่ นโจรนนั้ ในแตล่ ะภาพ โรเวอรจ์ ะวง่ิ เขา้ มาหาคนดแู ละวง่ิ ออกไปจากกรอบภาพ
ทางดา้ นซา้ ยเสมอ ซงึ่ การรกั ษาทศิ ทางของความเคลอื่ นไหวของคนหรอื วตั ถใุ นภาพใหม้ คี วามตอ่ เนอื่ งกนั
ในลกั ษณะนี้ จะทำ� ใหผ้ ชู้ มสามารถทจ่ี ะตดิ ตามเรอ่ื งราวและทำ� ความเขา้ ใจกบั เนอ้ื เรอ่ื งและเหตกุ ารณต์ า่ งๆ
ท่ีเกิดข้ึนบนจอภาพยนตร์ได้โดยงา่ ย (Thompson & Bordwell, 1994, pp. 43-44)