Page 50 - เทพนิยายสงเคราะห์เรื่อง เมขลา-รามสูร และพระคเณศ
P. 50
40
พระวิษณุน ารายณ์ และ มะ ได้แก่พระศิวอิศวร(๑) และเขียนเป็นอักษร ดังนี้
(๒) ตอนท ี่ยื่นอ อกม าทางข วาต รงก ลางอักษร เรียกว่า งวงพระคเณศ.
นี่ก ็เห็นได้ว่า แม้จะกล่าวค ำบ ูชาพ ระเป็นเจ้าทั้งส าม ซึ่งเป็นการบ ูชาเทพยเจ้า
ชั้นสูงสุดแล้วก็ดี ก็ย ังไม่วายม ีส ่วนข องพ ระค เณศไว้บูชาด ้วย.
เมื่อพระคเณศมีผู้นิยมบูชากันมาก จึงมีรูปอยู่ทั่วไปในอินเดีย. ครั้น
ชาวอินเดียนำลัทธิศาสนาฮินดูไปเผยแผ่ในต่างประเทศ หรืออพยพไปตั้ง
ภูมิลำเนาท ำการค้าขาย ก็มักม ีรูปพระคเณศต ิดตัวไปด้วย. เหตุนี้รูปพระค เณศ
จึ่งแพร่ออกไปถึงประเทศทิเบตและตาด, ส่วนทางตะวันออกก็มีอยู่ในแหลม
อินโดจีน มีพม่า, สยาม, และเขมร ตลอดขึ้นไปจนถึงจีนและญี่ปุ่น. ที่ข้าม
ทะเลไปมีอยู่ในเกาะชวา บาหลี และบอร์เนียวก็ม ี แต่รูปพ ระค เณศในประเทศ
เหล่าน ี้ มีลักษณะผันแปรไปตามค ติท ี่น ิยมนับถือกัน เช่น พระค เณศข องจีนก ็
ทรงเครื่องอ ย่างเจ๊ก, และสิ่งท ี่แ ปลกก็คือตามปกติพระคเณศถ ืองาช้างก ิ่งหนึ่ง,
แต่พระคเณศของจีน ญี่ปุ่น และท ิเบต ถือหัวผ ักกาดมีใบสามแ ฉก คล้ายรูปตรี
หรือวชิราวุธ. พระคเณศข องไทย ตามรูปภาพของเดิมท ้องไม่พ ลุ้ยเหมือนพ ระ
คเณศอินเดีย และบางทีก็ม ีงาค รบท ั้งสองข้าง, เป็นทำนองเดียวกับพระคเณศ
จีน ญีป่ ุน่ และท ิเบต. ส่วนพ ระค เณศข องอ ินเดยี ม งี าข ้างเดียวเพราะอ ีกข ้างห นึ่ง
(๑)ได้จากห นังสือ Ganesh by A. Getty หน้า ๖๕ แต่ในป ทานุกรมกระทรวงธรรมการฉบับ
พิมพ์ค รั้งท ี่ส อง พ.ศ. ๒๔๗๐ ว่า อะ-พระวิษณุ อุ-พระศ ิวะ และ มะ-พระพ รหม. ที่จริงท ี่ผ ิดก ัน
ก็ไม่แ ปลก เพราะสุดแล้วแต่น ับถือเป็นเจ้าอ งค์ใด ก็ย ่อมย กย่องพ ระเป็นเจ้าอ งค์น ั้นไว้ห น้าได้.
(๒)ทเี่ทยี บรูปอ กั ษร “โอม” ว่าเหมือนรปู พ ระค เณศน ั้น สงสยั วา่ ห มายถ งึ วธิ เี ขยี น “โอม” ด้วย
อักษรค ฤนถ์ ซึ่งค ล้ายพ ระเศียรพระค เณศจริง และเคยได้ยินผ ู้ใหญ่กล่าวว่า รูปร่างพ ระค เณศ
ขยายมาแ ต่ตัวห นังสือ “โอม” นั้นเอง สังเกตรูปอักษรที่เขียนให้ด ูต ่อไปนี้ ก็คงเห็นว่าจริงตาม
นั้นบ้าง
ตามรูปนี้ ลายเส้นห นาเป็นต ัวหนังสือ “โอม” เพิ่มลายอ ีกเล็กน ้อย ตามท ี่ขีดด้วยเส้นจุด ก็พ อ
เห็นเป็นหัวช ้าง มีงาข้างเดียว - ป.ส. ศาสตรี